พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ยุคของ เซอร์อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน (1986-ปัจจุบัน)
    อเล็กซ์ เฟอร์กูสันได้เข้ามาคุมทีมต่อ โดยในฤดูกาลแรกสโมสรจบฤดูกาลด้วยอันดับ 11 แต่ในปีต่อมาก็ได้อันดับสองโดยไบรอัน แมคแคลร์ทำประตูได้ถึง 21 ประตู เป็นคนแรกของทีมหลังจากที่จอร์จ เบสต์เคยทำได้มาก่อนหน้านี้
    ในปี 1989 เฟอร์กูสันเกิดความยากลำบากในการคุมทีมขึ้น เนื่องจากตัวผู้เล่นหลายตัวที่เขานำเข้ามาในทีมไม่เป็นที่พอใจของแฟนบอล มีข่าวออกมาว่าสโมสรจะปลดเฟอร์กี้ออกจากการเป็นผู้จัดการทีมในช่วงต้นปี 1990 แต่การชนะนอตติ้งแฮม ฟอเรสต์ในรอบสาม ของเอฟเอ คัพ ก็ทำให้เขาสามารถคุมทีมต่อไปได้ จนคว้าแชมป์เอฟเอ คัพได้ในปีนั้น เป็นแชมป์แรกให้กับเขาในการคุมแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
    ฤดูกาล 1990-91 แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ดคว้าแชมป์คัพ วินเนอร์ส คัพ โดยการเอาชนะบาร์เซโลนา จากสเปน ในนัดชิงชนะเลิศ แต่ปีต่อมาทีมทำผลงานไม่ดีนักในพรีเมียร์ลีก
    สโมสรแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดได้เข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ในลอนดอนเมื่อปี 1991 ด้วยมูลค่าทรัพย์สิน 18 ล้านปอนด์ จากนั้น สโมสรต้องเปิดเผยข้อมูลการเงินทั้งหมดสู่สาธารณะ
    เอริค คันโตนาย้ายจากลีดส์ ยูไนเต็ดมาร่วมทีมเมื่อปี 1992 ส่งผลต่อความสำเร็จของทีมเป็นอย่างมาก ทำให้ทีมได้แชมป์พรีเมียร์ลีกในฤดูกาลนั้นทันที ซึ่งนับเป็นแชมป์ลีกหนแรกในรอบ 26 ปี นับจากที่ได้มาครั้งล่าสุดในปี 1967 ปีต่อมา ทีมได้ดับเบิลแชมป์เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์สโมสร แต่ในปี 1994 นั้นเอง แมตต์ บัสบี้ ตำนานกุนซือของได้เสียชีวิตลงในวันที่ 20 มกราคม
    ฤดูกาล 1994-95 คันโตนาถูกสมาคมฟุตบอลอังกฤษลงโทษห้ามแข่งถึง 8 เดือน หลังจากที่ไปกระโดดถีบใส่แฟนบอลคริสตัล พาเลซ ปีนั้น แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดได้รองแชมป์ทั้งพรีเมียร์ลีกและเอฟเอ คัพ เฟอร์กูสันได้กระทำสิ่งที่ขัดใจแฟนบอลของทีมอีกครั้ง ด้วยการขายนักเตะสำคัญของทีมและดันนักเตะจากทีมเยาวชนขึ้นมาเล่นแทน แต่ปีนั้นทีมก็สามารถคว้าดับเบิ้ลแชมป์ได้อย่างน่ายกย่อง โดยเป็นทีมแรกของเกาะอังกฤษ ที่สามารถคว้าดับเบิ้ลแชมป์ได้เป็นสมัยที่สองซึ่งเว้นจากครั้งแรกที่ได้ดับเบิ้ลแชม์ในปี 1994 เพียงปีเดียว และสามารถที่จะลบคำสบประมาทที่ถูกปรามาสเอาไว้ว่าไม่สามารถที่จะประสบความสำเร็จใดๆได้ จากการผลักดันเด็กเยาวชนของทีมให้ขึ้นมาเล่นในทีมชุดใหญ่
    สโมสรคว้าแชมป์ลีกอีกครั้งในปี 1997 จากนั้น เอริค คันโตนาได้ประกาศเลิกเล่นฟุตบอลด้วยวัยเพียง 30 ปีซึ่งเร็วกว่านักเตะคนอื่นๆ มาก ฤดูกาลทีมยังเริ่มต้นการแข่งขันได้ดี แต่มีปัญหาอาการบาดเจ็บรบกวนมามากจนทำให้จบฤดูกาลได้เพียงอันดับสองเท่านั้น
    ปี 1998-99 ถือเป็นปีที่ประสบความสำเร็จมาที่สุดในประวัติศาสตร์สโมสร ด้วยการเป็นทีมแรกของอังกฤษที่คว้าทริปเปิลแชมป์ ซึ่งประกอบด้วยพรีเมียร์ลีก เอฟเอคัพ และยูฟา แชมเปี้ยนส์ลีกได้ในฤดูกาลเดียวกันอย่างน่าประทับใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในรอบชิงชนะเลิศฟุตบอลยูฟ่า แชมเปียนส์ลีก โดยในนาทีสุดท้ายของเกมนั้น ทีมยังตามหลังบาเยิร์น มิวนิกอยู่ 1-0 แต่แล้วในช่วงทดเวลาบาดเจ็บ 3 นาทีนั้น ทีมสามารถทำได้ถึงสองประตูพลิกกลับมาชนะ 2-1 ได้อย่างเหลือเชื่อจากเท็ดดี้ เชอริงแฮม และ "เพชรฆาตหน้าทารก" โอเล่ กุนนาร์ โซลชา
    จากการคว้าสามแชมป์ ทำให้อเล็กซ์ เฟอร์กูสันได้รับการพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จากสมเด็จพระบรมราชินีนาถเอลิซาเบถที่ 2 เป็นท่านเซอร์อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน เพื่อตอบแทนผลงานที่สามารถสร้างชื่อเสียงและเกียรติประวัติให้แก่ประเทศ ซึ่งถือเป็นบุคคลที่ได้รับตำแหน่งท่านเซอร์คนที่ 3 ในประวัติศาสตร์ของสโมสร โดยผู้ที่ได้รับคนแรกคือ เซอร์แมตต์ บัสบี้ คนที่สองคือ เซอร์บ็อบบี้ ชาร์ลตัน ตำนานของสโมสรแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
    หลังจากคว้าแชมป์ลีกในฤดูกาลที่ผ่านมา ในฤดูกาล 1999-2000 ถึง 2000-2001 ยูไนเต็ดสร้างประวัติศาสตร์ใหม่ในวงการฟุตบอลอังกฤษโดยการแชมป์ลีก 3 ครั้งติดต่อกัน ซึ่งเป็นทีมทึ่ 2 ที่ทำได้ (ทีมที่ทำได้ก่อนหน้าคือลิเวอร์พูล) และในช่วงนั้นยูไนเต็ดได้คว้าตัวนักเตะสำคัญคือ กองหน้าคนใหม่ รุด ฟาน นิสเตลรอย ซึ่งปัจจุบันได้กลายเป็น 1 ในตำนานสโมสรที่ลงสนาม 220 นัด และยิงได้ถึง 150 ประตู และริโอ เฟอร์ดินานด์ กองหลังที่มีค่าตัวสูงถึง 30 ล้านปอนด์
    แต่อย่างไรก็ดี ในปี 2001-2006 ยูไนเต็ดได้ประสบปัญหาหลายอย่าง อย่างแรกคือสโมสรไม่สามารถหาผู้รักษาประตูที่เป็นตัวตายตัวแทนของ ปีเตอร์ ชไมเคิ่ล ได้ สโมสรได้เปลี่ยนผู้รักษาประตูมือ 1 หลายคน ไม่ว่าจะเป็นมาร์ค บอสนิช, ไรมอนด์ ฟาน เดอ ฮาว, มัสซิโม่ ตาอิบี้, พอล ราชุบก้า, แอนดี้ กอแร่ม, ฟาเบียง บาร์กเตซ, ทิม โฮเวิร์ด, รอย คาโรล, และ ริคาร์โด้ โลเปซ และปัญหาอีกอย่างหนึ่งคือมีผู้เล่นที่เป็นกำลังหลักจำนวนมากได้ออกจากสโมสรไม่ว่าจะเป็นยาป สตัม, เดวิด เบ็คแฮม, รอย คีน กัปตันทีม, หรือแม้กระทั่งรุด ฟาน นิสเตลรอย โดยมีสาเหตุมาจากการมีปัญหากับเซอร์อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน ทั้งสิ้น ในช่วง 5 ปีนี้ ยูไนเต็ดคว้าแชมป์ลีกเพียงครั้งเดียว (ฤดูกาล 2002-2003) และได้ถ้วยรางวัลอื่นๆ อีก 2 รายการ คือ เอฟเอคัพ (2003-2004) และ ลีกคัพ (2005-2006) เท่านั้น โดยใน 2 ฤดูกาลหลัง เชลซีได้เข้ามามีบทบาทเด่นในฟุตบอลลีกเนื่องมาจากการเข้าเทคโอเวอร์สโมสรของ โรมัน อบราโมวิช มหาเศรษฐีชาวรัสเซีย ทำให้เชลซีมีงบประมาณซื้อตัวผู้เล่นไม่จำกัดและคว้าแชมป์ลีก 2 ปีติดต่อกัน
    ต่อมาในปี 2006-2008 อเล็กซ์ เฟอร์กูสันได้ผ่าตัดทีมใหม่อีกครั้ง โดยมีแกรี่ เนวิลล์ เป็นกัปตันทีมคนใหม่ที่รับตำแหน่งกัปตันแทน รอย คีน 11 ผู้เล่นของยูไนเต็ดมีความลงตัวกว่าปีที่ผ่านๆ มา ผู้เล่นที่โดดเด่นมี เอ็ดวิน ฟาน เดอ ซาร์ ผู้รักษาประตูทีมชาติฮอลแลนด์ที่เป็นตัวแทนของ ปีเตอร์ ชไมเคิ่ล และกองหลังมีเนมานย่า วิดิช ผู้เล่นยอดเยี่ยมของเซอร์เบียแอนด์มอนเตเนโกร และริโอ เฟอร์ดินานด์กองหลังค่าตัว 30 ล้านปอนด์เป็นแกนกลาง, ปีกซ้ายขวามี คริสเตียโน่ โรนัลโด้ ปีกดาวรุ่งโปรตุเกสที่สืบทอดเสื้อหมายเลข 7 ต่อจากเดวิด เบ็คแฮม และนานี่ ปีกดาวรุ่งผู้เป็นตัวแทนของไรอัน กิ๊กส์ และกองหน้ามี เวย์น รูนี่ย์ ดาวยิงประตูที่มีค่าตัวถึง 27 ล้านปอนด์เป็นกำลังหลัก อเล็กซ์เฟอร์กูสันได้กล่าวว่าทีมชุดนี้เป็นชุดที่ยอดเยี่ยมไม่แพ้ชุดปี 1999, ซึ่งทีมชุดนี้สามารถนำแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดไล่ล่าความสำเร็จอีกครั้ง โดยการคว้าแชมป์ลีก 2 ปีติดต่อกันในปี 2006-2008 และการคว้าแชมป์ยูฟ่า แชมเปี้ยนส์ลีกอีกครั้งในฤดูกาล 2007-2008

    [แก้] การเทคโอเวอร์ของมัลคอล์ม เกลเซอร์

    ในวันที่12 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 (2005) มัลคอล์ม เกลเซอร์ นักธุรกิจชาวสหรัฐอเมริกาสามารถครอบครองในสโมสรเกินร้อยละ 70 หลังจากบรรลุข้อตกลงซื้อหุ้นของผู้ถือหุ้นเจ. พี. แมกมานัส และจอห์น แมกเนียร์ ซึ่งถือหุ้นอยู่ร้อยละ 28.7 จาก และแฮร์รี่ ดอบสัน ผู้ถือหุ้นใหญ่ลำดับสามชาวสกอต<SUP class=reference id=cite_ref-3>[4]</SUP><SUP class=reference id=cite_ref-4>[5]</SUP> ในวันที่ 16 พฤษภาคม เกลเซอร์ครอบครองหุ้นเกินร้อยละ 75 ซึ่งทำให้เขาสามารถนำสโมสรออกจากตลาดหลักทรัพย์ได้<SUP class=reference id=cite_ref-5>[6]</SUP> แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดถูกนำออกจากตลาดหลักทรัพย์ลอนดอนในวันที่ 22 มิถุนายน<SUP class=reference id=cite_ref-6>[7]</SUP> เกลเซอร์สามารถครอบครองหุ้นร้อยละ 98 เป็นผลสำเร็จในวันที่ 28 มิถุนายน ซึ่งเกินระดับที่กำหนดให้บังคับซื้อหุ้นส่วนที่เหลือ<SUP class=reference id=cite_ref-takeover_2-1>[3]</SUP> มัลคอล์ม เกลเซอร์แต่งตั้งลูกชายสามคนของเขาเข้าในคณะกรรมการบริหาร ผู้สนับสนุนจำนวนมากไม่พอใจการเข้าครอบครองกิจการของเกลเซอร์<SUP class=reference id=cite_ref-7>[8]</SUP>

    [แก้] ทีมงานประจำสโมสร

    • เจ้าของสโมสร
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อดีตผู้เล่นที่โด่งดัง
    ผู้เล่นซึ่งลงสนามตั้งแต่ 100 ครั้งขึ้นไป (รวมทั้งในฐานะตัวสำรอง) อย่างไรก็ตาม รวมผู้เล่นบางคนที่เล่นน้อยกว่า 100 ครั้งแต่มีส่วนสำคัญต่อประวัติศาสตร์ของสโมสรด้วย (เช่น เลียม วีแลน)
    ผู้เล่นเรียงลำดับตามวันที่ลงสนามให้สโมสรครั้งแรกของพวกเขา จำนวนครั้งและประตูนับเฉพาะการแข่งขันของทีมชุดแรกเท่านั้น รวมการแข่งขันในเวลาสงครามด้วย
    สถิติ ณ วันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008)

    <TABLE class=wikitable><TBODY><TR><TH>ชื่อ</TH><TH>สัญชาติ</TH><TH>ตำแหน่ง</TH><TH>เล่นให้แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด</TH><TH>จำนวนครั้ง (ตัวสำรอง)</TH><TH>รวม</TH><TH>ประตู</TH></TR><TR><TD>อัลฟ์ ฟาร์แมน</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1889-1895</TD><TD>121(0)</TD><TD>121</TD><TD>53</TD></TR><TR><TD>วิลลี่ สจวร์ต</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1890-1895</TD><TD>149(0)</TD><TD>149</TD><TD>23</TD></TR><TR><TD>บ๊อบ โดนัลด์สัน</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1892-1897</TD><TD>147(0)</TD><TD>147</TD><TD>66</TD></TR><TR><TD>เฟรด อีเรนทซ์</TD><TD></TD><TD>LB</TD><TD>1892-1902</TD><TD>303(0)</TD><TD>303</TD><TD>9</TD></TR><TR><TD>โจ แคสสิดี้</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1893, 1895-1900</TD><TD>167(0)</TD><TD>167</TD><TD>99</TD></TR><TR><TD>เจมส์ แมคนอท</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1893-1898</TD><TD>157(0)</TD><TD>157</TD><TD>12</TD></TR><TR><TD>ดิค สมิธ</TD><TD></TD><TD>FW/LW</TD><TD>1894-1898, 1900-1901</TD><TD>100(0)</TD><TD>100</TD><TD>37</TD></TR><TR><TD>วอลเตอร์ คาร์ทไรท์</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1895-1905</TD><TD>257(0)</TD><TD>257</TD><TD>8</TD></TR><TR><TD>แฮร์รี่ สแตฟฟอร์ด</TD><TD></TD><TD>RB</TD><TD>1896-1903</TD><TD>200(0)</TD><TD>200</TD><TD>1</TD></TR><TR><TD>วิลเลียม ไบรแอนท์</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1896-1900</TD><TD>127(0)</TD><TD>127</TD><TD>33</TD></TR><TR><TD>แฟรงค์ บาร์เร็ทท์</TD><TD></TD><TD>GK</TD><TD>1896-1900</TD><TD>132(0)</TD><TD>132</TD><TD>0</TD></TR><TR><TD>บิลลี่ มอร์แกน</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1897-1903</TD><TD>152(0)</TD><TD>152</TD><TD>7</TD></TR><TR><TD>บิลลี่ กริฟฟิทส์</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1899-1905</TD><TD>175(0)</TD><TD>175</TD><TD>30</TD></TR><TR><TD>อัลฟ์ สโคฟิลด์</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1900-1907</TD><TD>179(0)</TD><TD>179</TD><TD>35</TD></TR><TR><TD>วินซ์ เฮยส์</TD><TD></TD><TD>RB</TD><TD>1901-1907, 1908-1910</TD><TD>128(0)</TD><TD>128</TD><TD>2</TD></TR><TR><TD>แจ็ค เพดดี้</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1902-1903, 1904-1907</TD><TD>121(0)</TD><TD>121</TD><TD>58</TD></TR><TR><TD>อเล็กซ์ ดาวนี่</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1902-1909</TD><TD>191(0)</TD><TD>191</TD><TD>14</TD></TR><TR><TD>อเล็กซ์ เบลล์</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1903-1913</TD><TD>309(0)</TD><TD>309</TD><TD>10</TD></TR><TR><TD>บ็อบ บอนทรอน</TD><TD></TD><TD>RB</TD><TD>1903-1907</TD><TD>134(0)</TD><TD>134</TD><TD>3</TD></TR><TR><TD>แฮร์รี่ โมเจอร์</TD><TD></TD><TD>GK</TD><TD>1903-1912</TD><TD>266(0)</TD><TD>266</TD><TD>0</TD></TR><TR><TD>ดิค ดั๊กเวิร์ธ</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1903-1915</TD><TD>254(0)</TD><TD>254</TD><TD>11</TD></TR><TR><TD>ชาร์ลี โรเบิร์ตส์</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1904-1913</TD><TD>302(0)</TD><TD>302</TD><TD>23</TD></TR><TR><TD>ดิค โฮลเดน</TD><TD></TD><TD>RB</TD><TD>1905-1914</TD><TD>117(0)</TD><TD>117</TD><TD>0</TD></TR><TR><TD>แจ็ค พิคเค็น</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1905-1911</TD><TD>122(0)</TD><TD>122</TD><TD>46</TD></TR><TR><TD>จอร์จ วอลล์</TD><TD></TD><TD>LW</TD><TD>1906-1915</TD><TD>319(0)</TD><TD>319</TD><TD>100</TD></TR><TR><TD>บิลลี่ เมเรดิธ</TD><TD></TD><TD>RW</TD><TD>1907-1921</TD><TD>335(0)</TD><TD>335</TD><TD>36</TD></TR><TR><TD>แซนดี้ เทิร์นบูล</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1907-1915</TD><TD>247(0)</TD><TD>247</TD><TD>101</TD></TR><TR><TD>จอร์จ สเตซี่ย์</TD><TD></TD><TD>LB</TD><TD>1907-1915</TD><TD>270(0)</TD><TD>270</TD><TD>9</TD></TR><TR><TD>แฮโรลด์ ฮอลซ์</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1908-1912</TD><TD>125(0)</TD><TD>125</TD><TD>56</TD></TR><TR><TD>อาเธอร์ วอลเลย์</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1909-1920</TD><TD>106(0)</TD><TD>106</TD><TD>6</TD></TR><TR><TD>อีนอช เวสต์</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1910-1916</TD><TD>181(0)</TD><TD>181</TD><TD>80</TD></TR><TR><TD>โรเบิร์ต บีล</TD><TD></TD><TD>GK</TD><TD>1912-1919</TD><TD>112(0)</TD><TD>112</TD><TD>0</TD></TR><TR><TD>แจ็ค มิว</TD><TD></TD><TD>GK</TD><TD>1912-1926</TD><TD>199(0)</TD><TD>199</TD><TD>0</TD></TR><TR><TD>แลล ฮิลดิทช์</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1919-1932</TD><TD>322(0)</TD><TD>322</TD><TD>7</TD></TR><TR><TD>แจ็ค ซิลค็อค</TD><TD></TD><TD>LB</TD><TD>1919-1934</TD><TD>449(0)</TD><TD>449</TD><TD>2</TD></TR><TR><TD>โจ สเปนซ์</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1919-1933</TD><TD>510(0)</TD><TD>510</TD><TD>168</TD></TR><TR><TD>ชาร์ลี มัวร์</TD><TD></TD><TD>RB</TD><TD>1919-1921, 1922-1931</TD><TD>328(0)</TD><TD>328</TD><TD>0</TD></TR><TR><TD>จอห์น กริมวู้ด</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1919-1927</TD><TD>205(0)</TD><TD>205</TD><TD>8</TD></TR><TR><TD>เท็ดดี้ พาร์ทริดจ์</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1920-1929</TD><TD>160(0)</TD><TD>160</TD><TD>18</TD></TR><TR><TD>อัลฟ์ สจวร์ต</TD><TD></TD><TD>GK</TD><TD>1920-1932</TD><TD>326(0)</TD><TD>326</TD><TD>0</TD></TR><TR><TD>เรย์ เบนเนียน</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1921-1932</TD><TD>301(0)</TD><TD>301</TD><TD>3</TD></TR><TR><TD>อาเธอร์ ลอชเฮด</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1921-1925</TD><TD>153(0)</TD><TD>153</TD><TD>50</TD></TR><TR><TD>แฮร์รี่ โทมัส</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1922-1931</TD><TD>135(0)</TD><TD>135</TD><TD>13</TD></TR><TR><TD>แฟรงค์ บาร์สัน</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1922-1928</TD><TD>152(0)</TD><TD>152</TD><TD>4</TD></TR><TR><TD>แฟรงค์ มันน์</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1923-1930</TD><TD>197(0)</TD><TD>197</TD><TD>5</TD></TR><TR><TD>แฟรงค์ แมคเฟอร์สัน</TD><TD></TD><TD>LW</TD><TD>1923-1928</TD><TD>175(0)</TD><TD>175</TD><TD>52</TD></TR><TR><TD>ทอม โจนส์</TD><TD></TD><TD>FB</TD><TD>1924-1937</TD><TD>200(0)</TD><TD>200</TD><TD>0</TD></TR><TR><TD>จิมมี่ แฮนสัน</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1924-1931</TD><TD>147(0)</TD><TD>147</TD><TD>52</TD></TR><TR><TD>แจ็ค วิลสัน</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1926-1932</TD><TD>140(0)</TD><TD>140</TD><TD>3</TD></TR><TR><TD>ฮิวจ์ แมคลีนาแฮน</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1928-1937</TD><TD>116(0)</TD><TD>116</TD><TD>12</TD></TR><TR><TD>แฮร์รี่ โรว์เลย์</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1928-1932, 1934-1937</TD><TD>180(0)</TD><TD>180</TD><TD>55</TD></TR><TR><TD>ทอม รีด</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1929-1933</TD><TD>101(0)</TD><TD>101</TD><TD>67</TD></TR><TR><TD>จอร์จ แมคแลชแลน</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1929-1933</TD><TD>116(0)</TD><TD>116</TD><TD>4</TD></TR><TR><TD>แจ็ค เมลเลอร์</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1930-1937</TD><TD>122(0)</TD><TD>122</TD><TD>0</TD></TR><TR><TD>ทอม แมนเลย์</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1930-1939</TD><TD>195(0)</TD><TD>195</TD><TD>41</TD></TR><TR><TD>จอร์จ โวส</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1933-1939</TD><TD>209(0)</TD><TD>209</TD><TD>1</TD></TR><TR><TD>แจ็ค กริฟฟิธส์</TD><TD></TD><TD>LB</TD><TD>1934-1944</TD><TD>173(0)</TD><TD>173</TD><TD>1</TD></TR><TR><TD>บิล แมคเคย์</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1934-1940</TD><TD>182(0)</TD><TD>182</TD><TD>15</TD></TR><TR><TD>จอร์จ มัทช์</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1934-1937</TD><TD>120(0)</TD><TD>120</TD><TD>49</TD></TR><TR><TD>โทมัส แบมฟอร์ด</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1934-1938</TD><TD>109(0)</TD><TD>109</TD><TD>57</TD></TR><TR><TD>บิลลี่ ไบรแอนท์</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1934-1939</TD><TD>157(0)</TD><TD>157</TD><TD>42</TD></TR><TR><TD>เจมส์ บราวน์</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1935-1939</TD><TD>110(0)</TD><TD>110</TD><TD>1</TD></TR><TR><TD>จอหน์นี่ แคเรย์</TD><TD></TD><TD>FB</TD><TD>1937-1953</TD><TD>344(0)</TD><TD>344</TD><TD>17</TD></TR><TR><TD>แจ็ค โรว์เลย์</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1937-1955</TD><TD>424(0)</TD><TD>424</TD><TD>211</TD></TR><TR><TD>สแตน เพียร์สัน</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1937-1954</TD><TD>343(0)</TD><TD>343</TD><TD>148</TD></TR><TR><TD>แจ็ค วอร์เนอร์</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1938-1950</TD><TD>116(0)</TD><TD>116</TD><TD>2</TD></TR><TR><TD>จอห์น แอสตัน ซีเนียร์</TD><TD></TD><TD>LB</TD><TD>1946-1954</TD><TD>284(0)</TD><TD>284</TD><TD>30</TD></TR><TR><TD>อัลเลนบาย ชิลตัน</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1946-1955</TD><TD>391(0)</TD><TD>391</TD><TD>3</TD></TR><TR><TD>เฮนรี ค็อคเบิร์น</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1946-1954</TD><TD>275(0)</TD><TD>275</TD><TD>4</TD></TR><TR><TD>แจ็ค ครอมพ์ตัน</TD><TD></TD><TD>GK</TD><TD>1946-1956</TD><TD>212(0)</TD><TD>212</TD><TD>0</TD></TR><TR><TD>จิมมี่ ดีลานีย์</TD><TD></TD><TD>RW</TD><TD>1946-1950</TD><TD>184(0)</TD><TD>184</TD><TD>28</TD></TR><TR><TD>บิลลี่ แม็คเกล็น</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1946-1952</TD><TD>122(0)</TD><TD>122</TD><TD>2</TD></TR><TR><TD>ชาร์ลี มิทเท็น</TD><TD></TD><TD>LW</TD><TD>1946-1952</TD><TD>162(0)</TD><TD>162</TD><TD>61</TD></TR><TR><TD>จอห์น ดาวนี่</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1949-1953</TD><TD>116(0)</TD><TD>116</TD><TD>37</TD></TR><TR><TD>เรย์ วู้ด</TD><TD></TD><TD>LW</TD><TD>1949-1958</TD><TD>208(0)</TD><TD>208</TD><TD>0</TD></TR><TR><TD>ดอน กิ๊บสัน</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1950-1955</TD><TD>115(0)</TD><TD>115</TD><TD>0</TD></TR><TR><TD>มาร์ค โจนส์</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1950-19528</TD><TD>121(0)</TD><TD>121</TD><TD>1</TD></TR><TR><TD>จอห์นนี่ เบอร์รี่</TD><TD></TD><TD>RW</TD><TD>1951-1958</TD><TD>276(0)</TD><TD>276</TD><TD>45</TD></TR><TR><TD>แจ๊คกี้ บลานซ์ฟลาวเลอร์</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1951-1958</TD><TD>117(0)</TD><TD>117</TD><TD>27</TD></TR><TR><TD>โรเจอร์ ไบรน์</TD><TD></TD><TD>LB</TD><TD>1951-1958</TD><TD>280(0)</TD><TD>280</TD><TD>20</TD></TR><TR><TD>เดวิด เพ็กก์</TD><TD></TD><TD>LW</TD><TD>1952-1958</TD><TD>150(0)</TD><TD>150</TD><TD>28</TD></TR><TR><TD>บิลล์ โฟ้กส์</TD><TD></TD><TD>HB/RB</TD><TD>1952-1970</TD><TD>685(3)</TD><TD>688</TD><TD>9</TD></TR><TR><TD>ทอมมี่ เทย์เลอร์</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1953-1958</TD><TD>191(0)</TD><TD>191</TD><TD>131</TD></TR><TR><TD>เลียม วีแลน</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1953-1958</TD><TD>98(0)</TD><TD>98</TD><TD>52</TD></TR><TR><TD>ดันแคน เอดเวิร์ด</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1953-1958</TD><TD>177(0)</TD><TD>177</TD><TD>21</TD></TR><TR><TD>เดนนิส ไวโอเล็ต</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1953-1962</TD><TD>293(0)</TD><TD>293</TD><TD>179</TD></TR><TR><TD>เฟรดดี้ กู๊ดวิน</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1954-1960</TD><TD>107(0)</TD><TD>107</TD><TD>8</TD></TR><TR><TD>อัลเบิร์ต สแคนลอน</TD><TD></TD><TD>LW</TD><TD>1954-1960</TD><TD>127(0)</TD><TD>127</TD><TD>35</TD></TR><TR><TD>เอ็ดดี้ คอลแมน</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1955-1958</TD><TD>108(0)</TD><TD>108</TD><TD>2</TD></TR><TR><TD>รอนนี่ โคพ</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1956-1961</TD><TD>106(0)</TD><TD>106</TD><TD>2</TD></TR><TR><TD>บ็อบบี้ ชาร์ลตัน</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1956-1973</TD><TD>756(2)</TD><TD>758</TD><TD>249</TD></TR><TR><TD>เดวิส แกสเคลล์</TD><TD></TD><TD>GK</TD><TD>1956-1967</TD><TD>119(0)</TD><TD>119</TD><TD>0</TD></TR><TR><TD>แฮร์รี่ เกร็กก์</TD><TD></TD><TD>GK</TD><TD>1957-1966</TD><TD>247(0)</TD><TD>247</TD><TD>0</TD></TR><TR><TD>เชย์ เบร็นแนน</TD><TD></TD><TD>RB</TD><TD>1958-1970</TD><TD>358(1)</TD><TD>359</TD><TD>6</TD></TR><TR><TD>อัลเบิร์ต ควิกซอลล์</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1958-1963</TD><TD>183(0)</TD><TD>183</TD><TD>56</TD></TR><TR><TD>จอห์นนี่ กิลส์</TD><TD></TD><TD>CM</TD><TD>1959-1963</TD><TD>115(0)</TD><TD>115</TD><TD>13</TD></TR><TR><TD>น็อบบี้ สไตลส์</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1959-1971</TD><TD>394(0)</TD><TD>394</TD><TD>19</TD></TR><TR><TD>มัวริซ เซ็ทเทอรส์</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1960-1964</TD><TD>194(0)</TD><TD>194</TD><TD>14</TD></TR><TR><TD>โทนี่ ดันน์</TD><TD></TD><TD>FB</TD><TD>1960-1973</TD><TD>534(1)</TD><TD>535</TD><TD>2</TD></TR><TR><TD>โนเอล แคนท์เวลล์</TD><TD></TD><TD>LB</TD><TD>1960-1967</TD><TD>146(0)</TD><TD>146</TD><TD>8</TD></TR><TR><TD>เดวิด เฮิร์ด</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1961-1968</TD><TD>264(1)</TD><TD>265</TD><TD>145</TD></TR><TR><TD>เดนิส ลอว์</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1962-1973</TD><TD>398(6)</TD><TD>404</TD><TD>237</TD></TR><TR><TD>เดวิด แซดเลอร์</TD><TD></TD><TD>หลายตำแหน่ง</TD><TD>1962-1973</TD><TD>328(7)</TD><TD>335</TD><TD>27</TD></TR><TR><TD>แพ็ท ครีแรนด์</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1963-1971</TD><TD>397(0)</TD><TD>397</TD><TD>15</TD></TR><TR><TD>จอร์จ เบสต์</TD><TD></TD><TD>FW/W</TD><TD>1963-1974</TD><TD>470(0)</TD><TD>470</TD><TD>179</TD></TR><TR><TD>จอห์น คอนเนลลี่</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1964-1966</TD><TD>112(1)</TD><TD>113</TD><TD>35</TD></TR><TR><TD>จอห์น ฟิทซ์แพทริค</TD><TD></TD><TD>RB</TD><TD>1965-1973</TD><TD>141(6)</TD><TD>147</TD><TD>10</TD></TR><TR><TD>จอห์น แอสตัน</TD><TD></TD><TD>LW</TD><TD>1965-1972</TD><TD>166(21)</TD><TD>187</TD><TD>27</TD></TR><TR><TD>อเล็กซ์ สเต็ปนีย์</TD><TD></TD><TD>GK</TD><TD>1966-1979</TD><TD>539(0)</TD><TD>539</TD><TD>2</TD></TR><TR><TD>ไบรอัน คิดด์</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1967-1974</TD><TD>257(9)</TD><TD>266</TD><TD>70</TD></TR><TR><TD>ฟรานซิส เบิร์นส์</TD><TD></TD><TD>LB</TD><TD>1967-1972</TD><TD>143(13)</TD><TD>156</TD><TD>7</TD></TR><TR><TD>วิลลี่ มอร์แกน</TD><TD></TD><TD>RW</TD><TD>1968-1975</TD><TD>293(3)</TD><TD>296</TD><TD>34</TD></TR><TR><TD>สตีฟ เจมส์</TD><TD></TD><TD>HB</TD><TD>1968-1975</TD><TD>160(1)</TD><TD>161</TD><TD>4</TD></TR><TR><TD>แซมมี่ แมคอิลรอย</TD><TD></TD><TD>CM</TD><TD>1971-1982</TD><TD>391(28)</TD><TD>419</TD><TD>71</TD></TR><TR><TD>มาร์ติน บั๊คคั่น</TD><TD></TD><TD>CB</TD><TD>1972-1983</TD><TD>456(0)</TD><TD>456</TD><TD>4</TD></TR><TR><TD>เดวิด แมคครีรี่</TD><TD></TD><TD>MF</TD><TD>1972-1979</TD><TD>57(53)</TD><TD>110</TD><TD>8</TD></TR><TR><TD>อเล็กซ์ ฟอร์ซิธ</TD><TD></TD><TD>RB</TD><TD>1973-1978</TD><TD>116(3)</TD><TD>119</TD><TD>5</TD></TR><TR><TD>ลู มาคาริ</TD><TD></TD><TD>MF/FW</TD><TD>1973-1984</TD><TD>374(27)</TD><TD>401</TD><TD>97</TD></TR><TR><TD>เจอร์รี่ ดาลี่</TD><TD></TD><TD>CM</TD><TD>1973-1977</TD><TD>137(5)</TD><TD>142</TD><TD>32</TD></TR><TR><TD>ไบรอัน กรีนฮอฟฟ์</TD><TD></TD><TD>CB</TD><TD>1973-1979</TD><TD>268(3)</TD><TD>271</TD><TD>17</TD></TR><TR><TD>สจวร์ต ฮูสตัน</TD><TD></TD><TD>LB</TD><TD>1974-1980</TD><TD>248(2)</TD><TD>250</TD><TD>16</TD></TR><TR><TD>สจวร์ต เพียร์สัน</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1974-1979</TD><TD>179(1)</TD><TD>180</TD><TD>66</TD></TR><TR><TD>อาเธอร์ อัลบิสตัน</TD><TD></TD><TD>LB</TD><TD>1974-1988</TD><TD>467(18)</TD><TD>485</TD><TD>7</TD></TR><TR><TD>สตีฟ คอปเปลล์</TD><TD></TD><TD>RW</TD><TD>1975-1983</TD><TD>393(3)</TD><TD>396</TD><TD>70</TD></TR><TR><TD>จิมมี่ นิโคลล์</TD><TD></TD><TD>RB</TD><TD>1975-1982</TD><TD>235(13)</TD><TD>248</TD><TD>6</TD></TR><TR><TD>กอร์ดอน ฮิลล์</TD><TD></TD><TD>LW</TD><TD>1975-1978</TD><TD>133(1)</TD><TD>134</TD><TD>51</TD></TR><TR><TD>จิมมี่ กรีนฮอฟฟ์</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1976-1980</TD><TD>119(4)</TD><TD>123</TD><TD>36</TD></TR><TR><TD>แอชลี่ย์ กริมส์</TD><TD></TD><TD>LB</TD><TD>1977-1983</TD><TD>77(30)</TD><TD>107</TD><TD>11</TD></TR><TR><TD>โจ จอร์แดน</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1978-1981</TD><TD>125(1)</TD><TD>126</TD><TD>41</TD></TR><TR><TD>กอร์ดอน แม็คควีน</TD><TD></TD><TD>CB</TD><TD>1978-1985</TD><TD>229(0)</TD><TD>229</TD><TD>26</TD></TR><TR><TD>แกรี่ เบลี่ย์</TD><TD></TD><TD>GK</TD><TD>1978-1987</TD><TD>375(0)</TD><TD>375</TD><TD>0</TD></TR><TR><TD>มิคกี้ โทมัส</TD><TD></TD><TD>LW</TD><TD>1978-1981</TD><TD>110(0)</TD><TD>110</TD><TD>15</TD></TR><TR><TD>เควิน มอแรน</TD><TD></TD><TD>CB</TD><TD>1979-1988</TD><TD>284(5)</TD><TD>289</TD><TD>24</TD></TR><TR><TD>เรย์ วิลกิ้นส์</TD><TD></TD><TD>CM</TD><TD>1979-1984</TD><TD>191(3)</TD><TD>194</TD><TD>10</TD></TR><TR><TD>ไมค์ ดั๊กบิวรี่</TD><TD></TD><TD>RB</TD><TD>1980-1990</TD><TD>345(33)</TD><TD>378</TD><TD>7</TD></TR><TR><TD>จอห์น กิดแมน</TD><TD></TD><TD>RB</TD><TD>1981-1986</TD><TD>116(4)</TD><TD>120</TD><TD>4</TD></TR><TR><TD>แฟรงค์ สเตเปิลตัน</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1981-1987</TD><TD>267(21)</TD><TD>288</TD><TD>78</TD></TR><TR><TD>เรมี่ มอส</TD><TD></TD><TD>CM</TD><TD>1981-1988</TD><TD>188(11)</TD><TD>199</TD><TD>12</TD></TR><TR><TD>ไบรอัน ร็อบสัน</TD><TD></TD><TD>CM</TD><TD>1981-1994</TD><TD>437(24)</TD><TD>461</TD><TD>99</TD></TR><TR><TD>นอร์แมน ไวท์ไซด์</TD><TD></TD><TD>FW/CM</TD><TD>1982-1989</TD><TD>256(18)</TD><TD>274</TD><TD>67</TD></TR><TR><TD>พอล แม็คกรัธ</TD><TD></TD><TD>CB</TD><TD>1982-1989</TD><TD>192(7)</TD><TD>199</TD><TD>16</TD></TR><TR><TD>มาร์ค ฮิวจ์ส</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1983-1986, 1988-1995</TD><TD>453(14)</TD><TD>467</TD><TD>163</TD></TR><TR><TD>แกรม ฮอกก์</TD><TD></TD><TD>CB</TD><TD>1984-1988</TD><TD>108(2)</TD><TD>110</TD><TD>1</TD></TR><TR><TD>เคลย์ตัน แบล็คมอร์</TD><TD></TD><TD>หลายตำแหน่ง</TD><TD>1984-1994</TD><TD>201(44)</TD><TD>245</TD><TD>26</TD></TR><TR><TD>เจสเปอร์ โอลเซ่น</TD><TD></TD><TD>LW</TD><TD>1984-1988</TD><TD>149(27)</TD><TD>176</TD><TD>24</TD></TR><TR><TD>กอร์ดอน สตรั๊คคั่น</TD><TD></TD><TD>RM</TD><TD>1984-1989</TD><TD>195(6)</TD><TD>201</TD><TD>38</TD></TR><TR><TD>ปีเตอร์ ดาเวนพอร์ท</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1986-1988</TD><TD>83(23)</TD><TD>106</TD><TD>26</TD></TR><TR><TD>ไบรอัน แม็คแคลร์</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1987-1998</TD><TD>398(73)</TD><TD>471</TD><TD>127</TD></TR><TR><TD>สตีฟ บรูซ</TD><TD></TD><TD>CB</TD><TD>1987-1996</TD><TD>411(3)</TD><TD>414</TD><TD>51</TD></TR><TR><TD>ลี มาร์ติน</TD><TD></TD><TD>LB</TD><TD>1988-1994</TD><TD>84(25)</TD><TD>109</TD><TD>2</TD></TR><TR><TD>ลี ชาร์ป</TD><TD></TD><TD>LW</TD><TD>1988-1996</TD><TD>213(50)</TD><TD>263</TD><TD>36</TD></TR><TR><TD>มาล โดนากี</TD><TD></TD><TD>CB/LB</TD><TD>1988-1992</TD><TD>98(21)</TD><TD>119</TD><TD>0</TD></TR><TR><TD>ไมค์ ฟีแลน</TD><TD></TD><TD>หลายตำแหน่ง</TD><TD>1989-1994</TD><TD>127(19)</TD><TD>146</TD><TD>3</TD></TR><TR><TD>นีล เว็บบ์</TD><TD></TD><TD>CM</TD><TD>1989-1992</TD><TD>105(5)</TD><TD>110</TD><TD>11</TD></TR><TR><TD>แกรี่ พัลลิสเตอร์</TD><TD></TD><TD>CB</TD><TD>1989-1998</TD><TD>433(4)</TD><TD>437</TD><TD>15</TD></TR><TR><TD>พอล อินซ์</TD><TD></TD><TD>CM</TD><TD>1989-1995</TD><TD>276(5)</TD><TD>281</TD><TD>29</TD></TR><TR><TD>เดนนิส เออร์วิน</TD><TD></TD><TD>FB</TD><TD>1990-2002</TD><TD>511(18)</TD><TD>529</TD><TD>33</TD></TR><TR><TD>ไรอัน กิ๊กส์</TD><TD></TD><TD>LW</TD><TD>1991-</TD><TD>671(90)</TD><TD>761</TD><TD>144</TD></TR><TR><TD>อังเดร แคนเชลสกี้ส์</TD><TD>/</TD><TD>RW</TD><TD>1991-1995</TD><TD>132(29)</TD><TD>161</TD><TD>36</TD></TR><TR><TD>พอล ปาร์คเกอร์</TD><TD></TD><TD>RB</TD><TD>1991-1996</TD><TD>137(9)</TD><TD>146</TD><TD>2</TD></TR><TR><TD>ปีเตอร์ ชไมเคิ่ล</TD><TD></TD><TD>GK</TD><TD>1991-1999</TD><TD>398(0)</TD><TD>398</TD><TD>1</TD></TR><TR><TD>แกรี่ เนวิลล์</TD><TD></TD><TD>RB</TD><TD>1992-</TD><TD>516(27)</TD><TD>543</TD><TD>7</TD></TR><TR><TD>เดวิด เบ็คแฮม</TD><TD></TD><TD>RM</TD><TD>1992-2003</TD><TD>356(38)</TD><TD>394</TD><TD>85</TD></TR><TR><TD>นิคกี้ บัตต์</TD><TD></TD><TD>CM</TD><TD>1992-2004</TD><TD>307(79)</TD><TD>386</TD><TD>26</TD></TR><TR><TD>เอริค คันโตน่า</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1992-1997</TD><TD>184(1)</TD><TD>185</TD><TD>82</TD></TR><TR><TD>รอย คีน</TD><TD></TD><TD>CM</TD><TD>1993-2005</TD><TD>458(22)</TD><TD>480</TD><TD>51</TD></TR><TR><TD>เดวิด เมย์</TD><TD></TD><TD>CB</TD><TD>1994-2003</TD><TD>98(20)</TD><TD>118</TD><TD>8</TD></TR><TR><TD>พอล สโคลส์</TD><TD></TD><TD>CM</TD><TD>1994-</TD><TD>478(96)</TD><TD>574</TD><TD>139</TD></TR><TR><TD>แอนดรูว์ โคล</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1995-2001</TD><TD>231(44)</TD><TD>275</TD><TD>121</TD></TR><TR><TD>ฟิล เนวิลล์</TD><TD></TD><TD>หลายตำแหน่ง</TD><TD>1995-2005</TD><TD>301(85)</TD><TD>386</TD><TD>8</TD></TR><TR><TD>รอนนี่ ยอห์นเซ่น</TD><TD></TD><TD>CB/CM</TD><TD>1996-2002</TD><TD>131(19)</TD><TD>150</TD><TD>9</TD></TR><TR><TD>โอเล่ กุนนาร์ โซลชา</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1996-2007</TD><TD>216(150)</TD><TD>366</TD><TD>126</TD></TR><TR><TD>เท็ดดี้ เชอริงแฮม</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1997-2001</TD><TD>101(52)</TD><TD>153</TD><TD>46</TD></TR><TR><TD>เฮนนิ่ง เบิร์ก</TD><TD></TD><TD>CB</TD><TD>1997-2000</TD><TD>81(22)</TD><TD>103</TD><TD>3</TD></TR><TR><TD>เวสต์ บราวน์</TD><TD></TD><TD>RB/CB</TD><TD>1998-</TD><TD>273(36)</TD><TD>309</TD><TD>3</TD></TR><TR><TD>ยาป สตัม</TD><TD></TD><TD>CB</TD><TD>1998-2001</TD><TD>125(2)</TD><TD>127</TD><TD>1</TD></TR><TR><TD>ดไวท์ ยอร์ก</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>1998-2002</TD><TD>120(32)</TD><TD>152</TD><TD>66</TD></TR><TR><TD>ควินตัน ฟอร์จูน</TD><TD></TD><TD>LW/LB</TD><TD>1999-2006</TD><TD>88(38)</TD><TD>126</TD><TD>11</TD></TR><TR><TD>มิคาเอล ซิลแวสต์</TD><TD></TD><TD>LB/CB</TD><TD>1999-2008</TD><TD>326(35)</TD><TD>361</TD><TD>10</TD></TR><TR><TD>จอห์น โอเชีย</TD><TD></TD><TD>หลายตำแหน่ง</TD><TD>1999-</TD><TD>217(75)</TD><TD>292</TD><TD>12</TD></TR><TR><TD>ฟาเบียง บาร์กเตซ</TD><TD></TD><TD>GK</TD><TD>2000-2004</TD><TD>139(0)</TD><TD>139</TD><TD>0</TD></TR><TR><TD>รุด ฟาน นิสเตลรอย</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>2001-2006</TD><TD>200(19)</TD><TD>219</TD><TD>150</TD></TR><TR><TD>ริโอ เฟอร์ดินานด์</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>2002-</TD><TD>267(4)</TD><TD>271</TD><TD>7</TD></TR><TR><TD>ดาร์เร็น เฟล็ตเชอร์</TD><TD></TD><TD>CM/RM</TD><TD>2003-</TD><TD>130(46)</TD><TD>176</TD><TD>11</TD></TR><TR><TD>คริสเตียโน่ โรนัลโด้</TD><TD>/</TD><TD>W/FW</TD><TD>2003-</TD><TD>196(43)</TD><TD>239</TD><TD>91</TD></TR><TR><TD>หลุยส์ ซาฮา</TD><TD></TD><TD>W/FW</TD><TD>2004-2008</TD><TD>76(48)</TD><TD>124</TD><TD>42</TD></TR><TR><TD>เวย์น รูนี่ย์</TD><TD></TD><TD>FW</TD><TD>2004-</TD><TD>174(18)</TD><TD>192</TD><TD>77</TD></TR><TR><TD>เอ็ดวิน ฟาน เดอร์ ซาร์</TD><TD></TD><TD>GK</TD><TD>2005-</TD><TD>146(0)</TD><TD>146</TD><TD>0</TD></TR><TR><TD>ปาทริก เอวร่า</TD><TD></TD><TD>LB</TD><TD>2006-</TD><TD>89(13)</TD><TD>102</TD><TD>2</TD></TR><TR><TD>เนมันย่า วิดิช</TD><TD></TD><TD>CB</TD><TD>2006-</TD><TD>98(4)</TD><TD>102</TD><TD>6</TD></TR><TR><TD>ไมเคิ่ล คาร์ริค</TD><TD></TD><TD>CM</TD><TD>2006-</TD><TD>88(15)</TD><TD>103</TD><TD>8</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    [แก้] เกียรติประวัติ


    <SMALL>ตัวเลขฤดูกาลตามปีค.ศ.</SMALL>
    <DL><DD>
    • 1907-08, 1910-11, 1951-52, 1955-56, 1956-57, 1964-65, 1966-67, 1992-93, 1993-94, 1995-96, 1996-97, 1998-99, 1999-2000, 2000-01, 2002-03, 2006-07, 2007-08
    </DD></DL>
    <DL><DD>
    • 1935-36, 1974-75
    </DD></DL>
    <DL><DD>
    • 1909, 1948, 1963, 1977, 1983, 1985, 1990, 1994, 1996, 1999, 2004
    </DD></DL>
    <DL><DD>
    • 1992, 2006
    </DD></DL>
    <DL><DD>
    • 1968, 1999, 2008
    </DD></DL>
    <DL><DD>
    • 1991
    </DD></DL>
    • อินเตอร์คอนติเนนตัลคัพ: 1
    <DL><DD>
    • 1999
    </DD></DL>
    • ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ: 1
    <DL><DD>
    • 2008
    </DD></DL>
    • ยูโรเปี้ยนซูเปอร์คัพ: 1
    <DL><DD>
    • 1991
    </DD></DL>
    • แชริตี้ชิลด์/คอมมูนิตี้ชิลด์: 17 (13 แชมป์เดี่ยว, 4 แชมป์ร่วม*)
    <DL><DD>
    • 1908, 1911, 1952, 1956, 1957, 1965*, 1967*, 1977*, 1983, 1990*, 1993, 1994, 1996, 1997, 2003, 2007, 2008
    </DD></DL>
    • BBC Sports Personality of the Year Team Award
    <DL><DD>
    • 1968 & 1999
    </DD></DL>
    [แก้] สถิติที่สำคัญของสโมสร

    (สถิติล่าสุดเมื่อ 11 พฤษภาคม 2551)

    [แก้] สถิติลงเล่นมากที่สุด

    (สัญลักษณ์ ↓ แสดงถึงกำลังเล่นอยู่ในสโมสร)
    <TABLE class=wikitable style="TEXT-ALIGN: center" cellPadding=3><TBODY><TR><TH>อันดับ</TH><TH>รายชื่อ</TH><TH>ฤดูกาล</TH><TH>ลงเล่น</TH><TH>ประตู</TH></TR><TR><TD>1</TD><TD align=left>ไรอัน กิ๊กส์↓</TD><TD>1990 - ปัจจุบัน</TD><TD>759</TD><TD>144</TD></TR><TR><TD>2</TD><TD align=left>บ็อบบี้ ชาร์ลตัน</TD><TD>1953 - 1973</TD><TD>758</TD><TD>249</TD></TR><TR><TD>3</TD><TD align=left>บิลล์ โฟ้กส์</TD><TD>1950 - 1970</TD><TD>688</TD><TD>9</TD></TR><TR><TD>4</TD><TD align=left>พอล สโคลส์↓</TD><TD>1993 - ปัจจุบัน</TD><TD>569</TD><TD>139</TD></TR><TR><TD>5</TD><TD align=left>แกรี่ เนวิลล์↓</TD><TD>1992 - ปัจจุบัน</TD><TD>541</TD><TD>7</TD></TR><TR><TD>6</TD><TD align=left>Alex Stepney</TD><TD>1966 - 1978</TD><TD>539</TD><TD>2</TD></TR><TR><TD>7</TD><TD align=left>Tony Dunne</TD><TD>1960 - 1973</TD><TD>535</TD><TD>2</TD></TR><TR><TD>8</TD><TD align=left>เดนิส เออร์วิน</TD><TD>1990 - 2002</TD><TD>529</TD><TD>33</TD></TR><TR><TD>9</TD><TD align=left>Joe Spence</TD><TD>1919 - 1933</TD><TD>510</TD><TD>168</TD></TR><TR><TD>10</TD><TD align=left>Arthur Albiston</TD><TD>1974 - 1988</TD><TD>485</TD><TD>7</TD></TR></TBODY></TABLE>

    [แก้] สถิติทำประตูสูงสุด

    <TABLE class=wikitable style="TEXT-ALIGN: center" cellPadding=3><TBODY><TR><TH>อันดับ</TH><TH>รายชื่อ</TH><TH>ฤดูกาล</TH><TH>ลงเล่น</TH><TH>ประตู</TH></TR><TR><TD>1</TD><TD align=left>บ็อบบี้ ชาร์ลตัน</TD><TD>1953 - 1973</TD><TD>758</TD><TD>249</TD></TR><TR><TD>2</TD><TD align=left>เดนิส ลอว์</TD><TD>1962 - 1973</TD><TD>404</TD><TD>237</TD></TR><TR><TD>3</TD><TD align=left>แจ็ก โรว์ลีย์</TD><TD>1937 - 1955</TD><TD>424</TD><TD>211</TD></TR><TR><TD>4=</TD><TD align=left>เดนนิส ไวโอเล็ต</TD><TD>1949 - 1962</TD><TD>293</TD><TD>179</TD></TR><TR><TD>4=</TD><TD align=left>จอร์จ เบสต์</TD><TD>1963 - 1974</TD><TD>470</TD><TD>179</TD></TR><TR><TD>6</TD><TD align=left>Joe Spence</TD><TD>1919 - 1933</TD><TD>510</TD><TD>168</TD></TR><TR><TD>7</TD><TD align=left>มาร์ก ฮิวจ์ส</TD><TD>1980 - 1986, 1988 - 1995</TD><TD>467</TD><TD>163</TD></TR><TR><TD>8</TD><TD align=left>รุด ฟาน นิสเตลรอย</TD><TD>2001 - 2006</TD><TD>219</TD><TD>150</TD></TR><TR><TD>9</TD><TD align=left>Stan Pearson</TD><TD>1935 - 1954</TD><TD>343</TD><TD>148</TD></TR><TR><TD>10</TD><TD align=left>เดวิด เฮิร์ด</TD><TD>1961 - 1968</TD><TD>265</TD><TD>145</TD></TR></TBODY></TABLE>

    [แก้] สถิติของสโมสร

    • ชัยชนะฟุตบอลลีกสูงสุด - 10 - 1 - 15 ตุลาคม 1892 - ฟุตบอลดิวิชัน 1 แข่งกับ วูลฟ์
    • ชัยชนะฟุตบอลพรีเมียร์สูงสุด - 9 - 0 - 4 มีนาคม 1995 - ฟุตบอลพรีเมียร์ลีก แข่งกับ อิปสวิชทาวน์
    • ชัยชนะฟุตบอลถ้วยสูงสุด - 10 - 0 - 26 กันยายน 1956 - ฟุตบอลยูโรเปียนส์คัพ แข่งกับ Anderlecht
    • ชัยชนะในบ้านสูงสุด - 10 - 0 - 26 กันยายน 1956 - ฟุตบอลยูโรเปียนส์คัพ แข่งกับ Anderlecht
    • ชัยชนะนอกบ้านสูงสุด - 8 - 1 - 6 กุมภาพันธ์ 1999 - ฟุตบอลพรีเมียร์ลีก แข่งกับนอตติ้งแฮม ฟอเรสต์
    • แพ้สูงสุด - 0 - 7 - ปี 1926 - ฟุตบอลดิวิชัน 1 แข่งกับ แข่งกับ แบล็กเบิร์น โรเวอร์ส
    • แพ้สูงสุด - 0 - 7 - ปี 1930 - ฟุตบอลดิวิชัน 1 แข่งกับ แข่งกับ แอสตันวิลลา
    • แพ้สูงสุด - 0 - 7 - ปี 1931 - ฟุตบอลดิวิชัน 2 แข่งกับ แข่งกับ วูลฟ์
    • ผู้เข้าชมสูงสุด - 75,595 คน - 17 กันยายน 2006 - ฟุตบอลพรีเมียร์ลีก แข่งกับอาร์เซนอล
    • ยอดเงินค่าเข้าชมสูงสุด - 576,494 ปอนด์ - 11 มีนาคม 1996 - ฟุตบอลเอฟเอ คัพ รอบ 6 แข่งกับเซาท์แทมป์ตัน
    • ชนะติดต่อกันนานสุด - 45 นัด จากวันที่ 24 ธันวาคม 1998 - 3 ตุลาคม 1999 โดยแพ้ให้กับ เชลซี
    • แต้มสูงสุดในฤดูกาล - 92 แต้ม - 42 นัด ฤดูกาล 1993/94
    • นักฟุตบอลที่ลงเล่นมากสุด - 759 นัด - ไรอัล กิ๊กส์
    • นักฟุตบอลที่ลงเล่นในบอลลีกมากที่สุด - 606 นัด - บ็อบบี้ ชาร์ลตัน
    • ยิงประตูสูงสุด - 247 ประตู - บ็อบบี้ ชาร์ลตัน
    • ยิงประตูในฟุตบอลลีกสูงสุด - 199 ประตู - บ็อบบี้ ชาร์ลตัน
    • ยิงประตูสูงสุดในหนึ่งฤดูกาล - 46 ประตู - เดนิส ลอว์ ฤดูกาล 1963-64
    • ยิงประตูสูงสุดในฟุตบอลลีกหนึ่งฤดูกาล - 32 ประตู - เดนนิส ไวโอเล็ต ฤดูกาล 1959-60
    • ยิงประตูสูงสุดในหนึ่งนัด - 6 ประตู - 7 กุมภาพันธ์ 1970 - จอร์จ เบสต์ นัดแข่งกับ นอร์ทแธมป์ตันทาวน์
    • ยิงประตูสูงสุดในการแข่งขันยูฟ่า - 38 ประตู - รุด ฟาน นิสเตลรอย
    • ผู้เล่นที่ติดทีมชาติมากสุด - 129 นัด - ปีเตอร์ ชไมเคิ่ล - ทีมชาติเดนมาร์ก
    • ทำประตูได้เร็วที่สุด - 15 วินาที - ไรอัน กิ๊กส์ - 18 พฤศจิกายน 1995 นัดที่แข่งกับ เซาท์แทมป์ตัน
    • ผู้เล่นซื้อเข้ามายังสโมสรที่มีราคาสูงที่สุด - ริโอ เฟอร์ดินานด์ จากสโมสรลีดส์ ยูไนเต็ด (อังกฤษ) 30.1 ล้านปอนด์
    • ผู้เล่นขายออกไปจากสโมสรที่มีราคาสูงที่สุด - เดวิด เบ็คแฮม ไปสโมสรเรอัล มาดริด (สเปน) 25 ล้านปอนด์
    [แก้] อ้างอิง

    1. <LI id=cite_note-0>^ WHO'S THE GREATEST?, 4thegame.com, 27 กรกฎาคม 2544 (อังกฤษ) <LI id=cite_note-1>^ European Football Statistics (อังกฤษ) <LI id=cite_note-takeover-2>^ <SUP>3.0</SUP> <SUP>3.1</SUP> Glazer gets 98% of Man Utd shares บีบีซีนิวส์ 28 มิถุนายน 2548 เรียกข้อมูลวันที่ 23-05-2550 (อังกฤษ) <LI id=cite_note-3>^ Glazer wins control of Man United บีบีซีนิวส์ 12 พฤษภาคม 2548 เรียกข้อมูลวันที่ 23-05-2550 (อังกฤษ) <LI id=cite_note-4>^ Tycoon seizes control of Man Utd, ซีเอ็นเอ็น 12 พฤษภาคม 2548 เรียกข้อมูลวันที่ 23-05-2550 (อังกฤษ) <LI id=cite_note-5>^ Glazer Man Utd stake exceeds 75% บีบีซีนิวส์ 16 พฤษภาคม 2548 เรียกข้อมูลวันที่ 23-05-2550 (อังกฤษ) <LI id=cite_note-6>^ Man Utd shares leave stock market บีบีซีนิวส์ 22 มิถุนายน 2548 เรียกข้อมูลวันที่ 23-05-2550 (อังกฤษ)
    2. ^ Fans rage at Glazer takeover move บีบีซีนิวส์ 13 พฤษภาคม 2548 เรียกข้อมูลวันที่ 23-05-2550
    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

    • ManUtd.com เว็บไซต์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดอย่างเป็นทางการ (อังกฤษ)
    • Red Army Fanclub ชมรม Red Army Fanclub
    • Thaimanutd.com เว็บไซต์แฟนคลับแมนฯ ยูไนเต็ด
    • Manuclub.com เว็บไซต์แฟนคลับแมนฯ ยูไนเต็ด
    <TABLE class=toccolours style="MARGIN: 0.5em auto; WIDTH: 40em; TEXT-ALIGN: center" cellPadding=5><TBODY><TR><TD align=middle width="90%" bgColor=lightsteelblue>อังกฤษ พรีเมียร์ลีก (ฤดูกาล 2008-09)</TD><TD></TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" align=middle colSpan=2>อาร์เซนอล | แอสตันวิลลา| แบล็กเบิร์นโรเวิร์ส | โบลตันวันเดอเรอร์ส | เชลซี | เอฟเวอร์ตัน | ฟูแลม | ฮัลล์ซิตี | ลิเวอร์พูล | แมนเชสเตอร์ซิตี | แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด | มิดเดิลสโบรช์ | นิวคาสเซิ ยูไนเต็ด | ปอร์ทสมัธ | สโตกซิตี | ซันเดอร์แลนด์ | เวสต์บรอมวิชอัลเบียน | ทอตแนมฮ็อตสเปอร์ | เวสต์แฮมยูไนเต็ด | วีแกนแอธเลติก
    <SMALL class="editlink noprint plainlinksneverexpand">แก้ไข</SMALL>​

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=toccolours style="MARGIN: 0.5em auto; WIDTH: 40em; TEXT-ALIGN: center" cellPadding=5><TBODY><TR><TD align=middle width="90%" bgColor=lightsteelblue colSpan=2>จี-14</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" align=middle colSpan=2>มิลาน อินเตอร์ ยูเวนตุส เรอัล มาดริด บาร์เซโลน่า บาเลนเซีย

    ลิเวอร์พูล แมนยู อาร์เซน่อล บาเยิร์น ดอร์ทมุนด์ เลเวอร์คูเซ่น

    อาแจ๊กซ์ ไอน์โฮเฟ่น ปอร์โต้ มาร์กเซย ลียง เปแอสเช
    <SMALL class="editlink noprint plainlinksneverexpand">แก้ไข</SMALL>​

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <!-- NewPP limit reportPreprocessor node count: 13171/1000000Post-expand include size: 152331/2048000 bytesTemplate argument size: 25131/2048000 bytesExpensive parser function count: 277/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:22432-0!1!0!!th!2 and timestamp 20081223020541 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%9F%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%84%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B9%87%E0%B8%94".
    หมวดหมู่: สโมสรฟุตบอลอังกฤษ
    หมวดหมู่ที่ซ่อนอยู่: บทความที่ขาดแหล่งอ้างอิง
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ผมไปข้างนอกแล้วนะครับ ต้องรีบไป เดี่ยวแฟนทีมอื่นมาแซวครับ

    แล้วช่วงเย็น ผมจะมาแจ้งยอดเงินผ้าป่าที่เคยบอกบุญไว้นะครับ
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    กลับมาแล้วครับ ช่วงเย็น ผมจะมาแจ้งยอดเงินจากที่ผมเคยบอกบุญผ้าป่านะครับ

    โมทนาสาธุครับ
     
  6. aries2947

    aries2947 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    2,031
    ค่าพลัง:
    +11,622
    ยอดผ้าป่าทำที่ไหนครับ ที่ศรีชัยผาผึ้งหรือที่สำนักปฏิบัติธรรมครับ
     
  7. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ---------------------------------------------------------------------

    ยินดีครับ

    แต่โดยส่วนตัว ยังไม่เชื่อครับ เป็นคนที่เชื่ออะไรยาก ต้องพิสูจน์ให้เห็นว่า ใช่ และ จริงก่อน จึงจะเชื่อครับ

    เพื่อนผมเป็นมะเร็ง บริเวณหน้าอกครับ เพื่อนเป็นผู้ชาย มีก้อนเนื้อปูดออกมาบริเวณกลางหน้าอก ซึ่งใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ จนใหญ่กว่ากำปั้นสองข้างรวมกัน

    โรคมะเร็ง มีรุ่นพี่เป็นผู้หญิง เป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลืองในระยะแรก ก็รักษาหายจากสถาบันมะเร็งครับ

    แต่ผมเองเชื่อนะครับว่า เป็นเรื่องของกรรม กรรมคือ การกระทำของตนเอง และสิ่งแวดล้อมครับ

    .[/quote]

    ที่ office เดิม มีหลายคนเป็น"มะเร็ง" แต่มีคนๆหนึ่งที่เป็นมะเร็งรังไข่ หรือมดลูกนี่แหละ ผมก็ไม่ทราบหรอกว่า เขาไปทานอะไร ทานดีแค่ไหน แต่คิดว่าน่าจะดี แต่ที่แน่ๆว่าด้วยเรื่องของกรรม เขาก่อกรรมไว้มากจริงๆ คิดร้ายกับคนส่วนใหญ่ที่ไม่ให้ประโยชน์กับตนเองเป็นกิจวัตรทั้งต่อหน้า และลับหลัง และล่าสุดได้ทราบว่าเป็นระยะที่ต้องไปฝังแร่แล้ว ก็น่าจะรุนแรง หากควบคุมเซลล์มะเร็งไม่ให้แพร่กระจายออกไปได้ก็คงไม่ต้องไปฝังแร่ เอาสิ่งแปลกปลอมเข้าร่างกายหรอกนะ คนที่ถูกกระทำเหล่านั้นก็เพาะสะสมความแค้น ความอาฆาต ถูกเขาด่า เขาสาปแช่ง กายนอกทนไหวเพราะผลประโยชน์ทางโลกล่อตาล่อใจ แต่กายในทนไม่ไหว กายนอกแต่งแต้มให้ดูสีฉูดฉาดตาได้ แต่กายในเน่าเหม็นคุมไม่อยู่...

    กรรม...
     
  8. gnip

    gnip สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 เมษายน 2008
    โพสต์:
    144
    ค่าพลัง:
    +14
    [​IMG]

    ถาม : บางทีก็สงสัยครับว่าทำไมพระพุทธองค์จึงไม่ทรงแจกแจงกรรมวิบากให้ชัดไปเลย จะได้ไม่ต้องมานั่งสงสัยกัน เช่นโรคมะเร็งเกิดจากกรรมแบบไหน อะไรอย่างนี้


    ตอบ
    :




    โรคมะเร็งเกิดจากกรรมอะไร? เป็นไปได้หลายอย่างครับ แกล้งสัตว์ทดลองก็เป็นได้ มีส่วนร่วมในขบวนการผลิตยาพิษก็เป็นได้ หรือแค่พูดจาบจ้วงใส่ไคล้อริยเจ้าก็เป็นได้
    อะไรๆที่ทำแล้วก่อให้เกิดความเจ็บปวดทรมานเรื้อรังแก่คนอื่น ล้วนแล้วแต่มีผลสะท้อนกลับมาเป็นมะเร็งได้ทั้งสิ้น


    ความแรงทางนามธรรม สะท้อนกลับมาเป็นความแรงทางรูปธรรม คือคิด พูด ทำรุนแรงแค่ไหน ผลดีผลร้ายก็ออกมารุนแรงแค่นั้น


    ทีนี้คุณจะให้พระพุทธเจ้าท่านมา จาระไนความจริงให้หมดหรือ? เฉพาะกรรมที่ทำให้เป็นมะเร็งก็เหมือนจาระไนกันไม่หวาดไม่ไหวแล้ว ยังโรคอื่น ยังเรื่องอื่นที่น่าสงสัยบรรดามีอีกล่ะ เป็นต้นว่าโดนขูดขีดรถเป็นรอยเสียหายเกิดจากกรรมอะไร มันไม่ใช่เป็นไปได้แค่กรรมเก่าในชาติก่อน เอาแค่ชาตินี้บางคนเคยเป็นเด็กโมโหร้าย ชอบทำลายข้าวของพ่อแม่ ก็มาให้ผลตอนโตได้ บางคนเคยแอบเอามีดกรีดของรักของหวงของเพื่อนด้วยความริษยา ก็ให้ผลทันตาใน ๗ วันได้แล้ว


    พระพุทธองค์ท่านไม่เสียเวลาแจกแจง เป็นเรื่องๆ เพราะเวลาของท่านมีค่ากว่านั้น ท่านสอนสิ่งที่รวบยอดคือ ‘วิธีดับทุกข์’ อันเป็นอมตะ นั่นแหละที่ท่านให้เวลาจาระไนมากที่สุด เหมือนเอายาครอบจักรวาลให้ทั้งตะกร้า แจกแจงสรรพคุณและวิธีใช้ไว้ครบถ้วนดีแล้ว กินทีเดียวไม่ต้องเป็นโรคใดๆอีกแล้ว ก็ไม่จำเป็นต้องมาสาธยายรายละเอียดของโรคต่างๆให้เปลืองเวลาอีก หน้าที่เสวนาจิปาถะเป็นเรื่องที่สาวกต้องทำกันเอง


    อีกประการหนึ่ง ตลอด ๔๕ ปีมนุษย์ที่พระองค์โปรดโลกอยู่ ก็มีคนทูลถามเรื่องจิปาถะมากมาย พระองค์ก็ตอบด้วยเหตุผลเกี่ยวกับกรรมวิบาก ซึ่งเป็นไปไม่ได้ที่พระผู้สร้างบันทึกเกี่ยวกับพระองค์ท่านจะรวบรวมทุกคำ ถามคำตอบไว้ได้หมด


    และอันที่จริง ถ้าคุณสนใจอ่านพระไตรปิฎกทั้งหมด ก็จะทราบว่าพระพุทธเจ้าตรัสตอบสิ่งที่ผู้คนทุกยุคทุกสมัยสงสัยไว้ครบแล้ว ผมขอแนะนำให้อ่านพระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน ของท่านอาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพดู มีวางตามร้านหนังสือใหญ่ๆทั่วไปครับ

    Fr:http://dungtrin.com/prepare/mobile/P6.9.htm


    คิดว่าเกิดจากกรรมค่ะ กรรมมีทั้งในอดีตและปัจจุบันมาส่งผล แต่เป็นกันมากนะคะสมัยนี้มะเร็งอดคิดไม่ได้ว่าทำไมต้องเป็นอย่างมากในปัจจุบัน เหมือนในอดีตที่เคยมีโรคห่าสมัย ร.4 คงอาจทำกรรมอะไรร่วมกันไว้...
     
  9. gnip

    gnip สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 เมษายน 2008
    โพสต์:
    144
    ค่าพลัง:
    +14
    วันนี้ได้ไปไหว้พระราหูที่วัดศรีษะทองมาค่ะ มาร่วมกันโมทนาบุญนะคะ
    ไปแบบตัดสินใจก็ไปเลย ไม่ได้เตรียมของไหว้ไปซักอย่าง แต่ดีที่พอไปถึงทางวัดก็จะมีจัดของไหว้เป็นชุด 8 อย่างทำบุญ 300 บาท

    ส่วนของดำทั้ง 8 ที่ควรเอาไปบูชา มีดังนี้
    1. ไก่ดำ ความหมายคือ คุ้ยเขี่ย ค้าขายดี
    2. เหล้า ความหมายคือ ความกล้าในการเสี่ยง การลงทุนดี
    3. กาแฟดำ ความหมายคือ คิดอะไรก็สมหวัง
    4. เฉาก๊วย ความหมายคือ ความใจเย็นและมีความคิดรอบคอบ
    5. ถั่วดำ ความหมายคือ ความเจริญรุ่งเรือง
    6. ข้าวเหนียวดำ ความหมายคือ ความเหนียวแน่นในเรื่องการเงินและความรักครอบครัว
    7. ขนมเปียกปูน ควาหมายคือ การปูนบำเหน็จ รางวัล และความสำเร็จโชคลาภ
    8. ไข่เยี่ยวม้า ความหมายคือ การวิ่งเต้น หรือการติดต่อ ให้ได้รับความสำเร็จ[SIZE=-1]

    [/SIZE]วันนี้ถามป้าคนจัดของป้าบอกว่าคนเยอะและจะเยอะไปถึงตอนสองทุ่มครึ่งสงสัยว่าคงจะเป็นวัดพุธคนเลยเยอะ[SIZE=-1]
    [/SIZE]
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    งานบุญผ้าป่าสามัคคี ณ สถานปฎิบัติธรรม "สวนทิพย์โลกอุดร" ที่จังหวัดเชียงใหม่ ที่แจ้งไว้ว่า มีการทอดผ้าป่ากันในวันศุกร์ที่ 5 ธันวาคม 2551 นั้น
    จำนวนเงินของผ้าป่า 218,424.-บาทครับ
    มาร่วมกันโมทนาบุญนะครับ

    โมทนาสาธุครับ
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    โมทนาบุญนะครับ

    ในความเห็นของผมเอง พระราหูนั้น กำลังของพระราหู คือ 12 ผมว่าถ้าจะไหว้ น่าจะเป็นของดำ จำนวน 12 อย่าง
    ว่ายังไงครับคุณเพชร ออกความเห็นหน่อยครับ
     
  12. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    เรื่องของวาระที่ได้รับสิ่งนั้นสิ่งนี้ ได้พบกับเรื่องนั้นเรื่องนี้ อาจจะไม่เข้าใจว่าทำไม และอย่างไร ปล่อยเวลาให้ล่วงไปเล็กน้อยจะเข้าใจที่มานั้นเอง และเป็นเรื่องราวเฉพาะตัวที่เราสามารถเข้าใจได้ด้วยตัวเราเองเท่านั้น คนอื่นๆจะมองไม่เห็นคุณค่าตรงนี้ บอกแล้วไงว่าเป็นเรื่องเฉพาะตัว...

    วันหนึ่งในอดีตราว ๗ปี ได้รับพระเครื่องรูปหล่อลอยองค์หลวงปู่พระหมอชีวกโกมารภัจจ์สร้างปีพศ.๒๔๙๙ ที่วัดญวณสะพานขาว โดยหลวงพ่อบ่าวเอิง ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับหลวงปู่ฯอย่างมาก..

    วันหนึ่งในอดีตราว ๕ ปี ภรรยาต้องไปกราบขอพรหลวงปู่ฯที่วัดญวณสะพานขาว และได้รับคำแนะนำจากผู้ที่เคยเป็นมะเร็งซึ่งเป็นโรคเดียวกับผบ.ทบ.ของผม ท่านได้แนะนำ และชี้หนทางรักษาให้ จนเวลานี้หายขาดแล้ว..

    วันหนึ่งเมื่อ ๑ เดือนที่ผ่านมา เพื่อนท่านหนึ่งมอบลูกอมผงยาวาสนาบรรจุกริ่งที่หลวงปู่อุตระเถรเจ้าเสกไว้ให้ เพื่อประโยชน์ในงานวันข้างหน้า...

    เมื่อวานนี้ไปสมัครเรียนแพทย์แผนโบราณที่วัดโพธิ์ และได้พบพี่ท่านหนึ่งเป็นภรรยาของคุณหมอที่แต่งคัมภีร์เภสัชรัตนโกสินทร์ ได้แนะนำเรื่องราวที่เป็นประโยชน์อย่างมาก ซึ่งปกติพี่ท่านนี้จะมาที่กระทรวงสาธารณสุขเพียงเดือนละครั้งเท่านั้น คุณหมอมีความรู้+ประสบการณ์ทางอายุรเวชทั้งแผนปัจจุบัน และแผนโบราณ เข้าป่าเสาะหาตัวยาหายากมาปลูกที่ไร่ของตนเองที่จ.กาญจนบุรี และเป็นผู้สอนการแพทย์แผนโบราณขั้นสูง ชะรอยในอนาคตจะได้กราบคุณหมอท่านนี้เป็นอาจารย์หมออย่างแน่นอน...

    จงขอบคุณโอกาสทุกโอกาสที่เข้ามาในชีวิต แม้ว่าจะยังไม่เข้าใจในเวลานั้นก็ตาม
     
  13. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    จำได้ว่าที่วัดศีรษะทองนี้มีพระราหูองค์ใหญ่อยู่หน้าวัด

    ศีรษะ เขียนแบบนี้ ไม่ใช่หรือ...หรือเราเข้าใจผิดหว่า...อิ...อิ...
     
  14. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ๕๕๕๕๕ คุณหนุ่มก็เข้าใจไปนั่น ก็ไม่ผิดหรอกครับ เพียงแต่ว่า พระราหูก็คือพุธกลางคืน ผู้ที่เกิดในวันพุธเวลา ๑๘.๐๑ น.เป็นต้นไป จนถึงเวลา ๖.๐๐น.ของอีกวันถือว่าเป็นพุธกลางคืนในทางโหราศาสตร์ ทางโหราเลขศาสตร์นี้ให้รหัส"๘" คือสัญญลักษณ์ของพุธกลางคืน ดังนั้นทางวัด หรือความเชื่อเรื่องการบูชาพระราหู จึงแทนด้วยสิ่งของสีดำ ๘ อย่าง ไม่ใช่ ๑๒ อย่าง ลองสังเกตเหรียญจตุคามรามเทพที่สร้างความฮือฮาเมื่อ ๒ ปีก่อนนะครับ พระราหูมี ๘ ตน รอบเหรียญกลมนั้นอยู่ในตำแหน่งของดาวทั้ง ๘ ไม่นับพระเกตุที่อยู่ตรงกลาง เหรียญจตุคามรามเทพบางรุ่น ผมก็เคยเห็นสร้างพระราหูรอบเหรียญด้วยพระราหู ๑๒ ตนครับ...
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เออ คุณgnip ครับ งานเข้าครับ เหมือนผมเลย
    ตอนนี้ถ้าจะพิมพ์อะไร ระวังพิมพ์ผิดครับ

    .
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระพุทธมหาธรรมราชา
    [​IMG]

    <CENTER><TABLE width="90%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%">


    http://www.geocities.com/clcseacon/81.html
    </TD></TR><TR><TD width="100%" bgColor=#ffcc66>
    สถานที่ประดิษฐาน วัดไตรภูมิ ตำบลในเมือง

    อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์
    </TD></TR><TR><TD width="100%" bgColor=#ffcc66>
    พุทธลักษณะ ศิลปะสมัยลพบุรี ทรงเทริด

    ปางสมาธิ ขัดสมาธิราบ
    ขนาด หน้าตัก ๑๓ นิ้ว สูง ๑๘ นิ้ว
    วัสดุ โลหะลงรักปิดทอง
    </TD></TR><TR><TD width="100%">
    พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดเพชรบูรณ์องค์นี้ มีประวัติความเป็นมาที่อยู่ข้างจะแปลก และยังเป็นที่มาของประเพณีปฏิบัติที่ผิดแปลกไม่ซ้ำใครของจังหวัดเพชรบูรณ์อีกด้วย

    พระพุทธมหาธรรมราชาเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองเพชรบูรณ์มาเก่าแก่เล่ากันต่อ ๆ มาถึงความเป็นมาว่าเมื่อพระพุทธรูปจะปรากฏขึ้นนั้น มีชาวเมืองไปทอดแหในลำน้ำแควประสัก ตรงวังมะขามแฟบทางทิศเหนือของเมือง แล้วพบพระพุทธรูปองค์นี้ "สรงน้ำ" อยู่ในวังน้ำ จึงอัญเชิญมาไว้ที่วัดไตรภูมิ ซึ่งเป็นวัดที่อยู่ใจกลางเมืองขณะนั้น ครั้นอยู่มาเมื่อถึงวันสารทไทย คือ แรม ๑๕ ค่ำเดือน ๑๐ ปรากฏว่าพระพุทธรูปได้หายไปจากวัด เมื่อติดตามค้นหาจนทั่วก็ไปพบกำลัง "สรงน้ำ" ที่วังน้ำเดิมที่มีผู้พบในคราวแรกนั้นเอง
    ต่อมาเมื่อถึงวันสารทไทย เจ้าเมืองเพชรบูรณ์พร้อมทั้งข้าราชการพ่อค้าประชาชนจะพร้อมกัน อัญเชิญพระพุทธมหาธรรมราชาไปทำพิธีสรงน้ำที่วังน้ำมะขามแฟบ เป็นประจำทุกปีสืบมาจนกลายเป็นประเพณีสำคัญของจังหวัดเรียกกันว่าอุ้มพระสรงน้ำบ้าง อุ้มพระดำน้ำบ้าง
    ในการอัญเชิญสรงน้ำ เจ้าเมืองหรือปัจจุบันคือผู้ว่าราชการจังหวัดจะเป็นผู้ประคองพระพุทธรูปลงไปในน้ำ แล้วนำองค์พระดำน้ำลงโดยหันพระพักตร์ขึ้นเหนือน้ำ ๓ ครั้ง หันพระพักตร์ลงใต้น้ำ ๓ ครั้ง และอธิษฐานขอพรไปด้วยถือกันว่าหากได้กระทำถูกต้องครบถ้วนแล้วชาวเมืองจะอยู่เย็นเป็นสุข ฝนฟ้าจะตกต้องตามฤดูกาลในเทศกาลสงกรานต์แต่ละปี จะมีการอัญเชิญพระพุทธมหาธรรมราชาออกจากวัดแห่ไปรอบเมืองก่อนจะอัญเชิญไปประดิษฐาน ณ ปะรำพิธีให้ประชาชนได้มาสักการะและสรงน้ำ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • b-81.jpe
      b-81.jpe
      ขนาดไฟล์:
      23.7 KB
      เปิดดู:
      836
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระมหาธรรมราชาที่ 1

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

    (เปลี่ยนทางมาจาก พระยาลิไท)
    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->



    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.5em; PADDING-LEFT: 0.5em; PADDING-BOTTOM: 0.5em; PADDING-TOP: 0.5em" vAlign=top noWrap width=60>
    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.5em; PADDING-TOP: 0.5em" vAlign=center width="100%">บทความนี้ต้องการตรวจสอบความถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญ
    ถ้าคุณมีความรู้เกี่ยวกับบทความนี้ สามารถช่วยปรับปรุงเนื้อหาได้โดยการกด แก้ไข ด้านบน ซึ่งเมื่อตรวจสอบและแก้ไขแล้วให้นำป้ายนี้ออก
    <SMALL>ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ การจัดย่อหน้า คู่มือการเขียน การอ้างอิง และ นโยบายวิกิพีเดีย</SMALL>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    พญาลิไท หรือ พระยาลิไท หรือ พระศรีสุริยพงศ์รามมหาราชาธิราช หรือพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ครองราชย์ พ.ศ. 1897 - พ.ศ. 1919) พระมหากษัตริย์อาณาจักรสุโขทัยราชวงศ์พระร่วงลำดับที่ 5 พระโอรสพญาเลอไท และพระราชนัดดาของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
    พญาลิไทเป็นกษัตริย์องค์ที่ 6 แห่งกรุงสุโขทัย ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระยางัวนำถม จากหลักฐานในศิลาจารึกวัดพระมหาธาตุ พ.ศ. 1935 หลักที่ 8 ข. ค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2499 ได้กล่าวว่า เมื่อพระยาเลอไทสวรรคตใน พ.ศ. 1884 พระยางัวนำถมได้ขึ้นครองราชย์ ต่อมาพระยาลิไทยกทัพมาแย่งชิงราชสมบัติได้ และขึ้นครองราชย์ใน พ.ศ. 1890 ทรงพระนามว่า พระเศรีสุริยพงสรามมหาธรรมราชาธิราช ในศิลาจารึกมักเรียกพระนามเดิมว่า "พระยาลิไท" หรือเรียกย่อว่า พระมหาธรรมราชาที่ 1
    พญาลิไททรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างมาก ทรงผนวชในพระพุทธศาสนาเมื่อ พ.ศ. 1905 ที่วัดป่ามะม่วง นอกเมืองสุโขทัยทางทิศตะวันตก ทรงอาราธนาพระสามิสังฆราชจากลังกาเข้ามาเป็นสังฆราชในกรุงสุโขทัย เผยแพร่เพิ่มความเจริญให้แก่พระศาสนามากยิ่งขึ้น ทรงสร้างและบูรณะวัดมากมายหลายแห่ง รวมทั้งการสร้างพระพุทธรูปเป็นจำนวนมาก เช่น พระพุทธชินสีห์ พระศรีศาสดา และพระพุทธรูปองค์สำคัญองค์หนึ่งของประเทศคือ พระพุทธชินราช ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร
    พญาลิไท ทรงปราดเปรื่องในความรู้ในพระพุทธศาสนา ทรงมีความรู้แตกฉานในพระไตรปิฎก พระองค์ได้ทรงแบ่งพระสงฆ์ออกเป็น 2 ฝ่ายคือฝ่าย "คามวาสี" และฝ่าย "อรัญวาสี" โดยให้ฝ่ายคามวาสีเน้นหนักการสั่งสอนราษฎรในเมืองและเน้นการศึกษาพระไตรปิฎก ส่วนฝ่ายอรัญวาสีเน้นให้หนักด้านการวิปัสสนาและประจำอยู่ตามป่าหรือชนบท ด้วยทรงเป็นองค์อุปถัมภ์พระศาสนาตลอดพระชนม์ชีพ ราษฎรจึงถวายพระนามว่า "พระมหาธรรมราชา"
    นอกจากศาสนาพุทธแล้ว พญาลิไทยังทรงอุปถัมภ์ศาสนาพราหมณ์ด้วยโดยทรงสร้างเทวรูปขนาดใหญ่หลายองค์ซึ่งยังเหลือปรากฏให้ศึกษาในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในกรุงเทพมหานครและที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติจังหวัดพิษณุโลก
    ทรงทำนุบำรุงบ้านเมืองให้เจริญหลายประการ เช่น สร้างถนนพระร่วงตั้งแต่เมืองศรีสัชนาลัยผ่านกรุงสุโขทัยไปถึงเมืองนครชุม (กำแพงเพชร) บูรณะเมืองนครชุม สร้างเมืองสองแคว (พิษณุโลก) เป็นเมืองลูกหลวง
    ด้านอักษรศาสตร์ทรงพระปรีชาสามารถนิพนธ์หนังสือไตรภูมิพระร่วงที่นับเป็นงานนิพนธ์ที่เก่าแก่ที่สุดเรื่องหนึ่งในประวัติศาสตร์ไทย

    [แก้] ดูเพิ่ม

    <TABLE class=toccolours style="MARGIN: 0px auto; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=4 border=1><TBODY><TR style="TEXT-ALIGN: center"><TD width="30%">รัชสมัยก่อนหน้า:
    พระยางั่วนำถุม
    <SMALL>ราชวงศ์พระร่วง</SMALL>
    </TD><TD style="TEXT-ALIGN: center" width="40%">พระมหากษัตริย์ไทย
    อาณาจักรสุโขทัย
    ราชวงศ์พระร่วง
    พ.ศ. 1897 - พ.ศ. 1919
    </TD><TD width="30%">รัชสมัยถัดไป:
    พระมหาธรรมราชาที่ ๒ (ลือไท)
    <SMALL>ราชวงศ์พระร่วง</SMALL>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable0 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title style="BACKGROUND: #e0951d; COLOR: #fff" colSpan=2>
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร
    http://www.phitsanulok.go.th/cinarhat_story.htm

    สร้างเมื่อ พ.ศ.1900 ในรัชกาลพระมหาธรรมราชาที่ 1(พญาลิไทย) เป็นวัดหลวงตั้งแต่รัชกาลที่ 6 เมื่อปี พ.ศ.2458 มีพื้นที่วัด 36 ไร่ 2 งาน 54 ตารางวาในปัจจุบันเป็นวัดชั้นเอกวรมหาวิหารตั้งอยู่ริมแม่น้ำน่านทางฝั่งตะวันออก สำคัญเพราะเป็นที่ประดิษฐานพุทธชินราช พระพุทธชินศรี และพระศรีศาสดา โดยเฉพาะ พระพุทธชินราชเป็นพระพุทธรูปที่มีลักษณะที่งดงามที่สุดในโลก

    พระพุทธชินราชพระพุทธชินราชเป็นพระพุทธรูป ปางมารวิชัย ที่มีลักษณะงดงาม ที่สุดในโลกมีขนาดหน้าตักกว้าง ห้าศอก 1 คืบ ห้านิ้ว(2.875 เมตร) สูงเจ็ดศอก(3.5 เมตร) หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ขัดเงาเกลี้ยง สมเด็จพระเอกาทศรถได้ทรงปิดทองเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2146และเมื่อ พ.ศ.2478 ได้มีการลงรักปิดทองเต็มองค์อีกครั้งหนึ่ง และเป็นการถาวร อยู่จนทุกวันนี้พระพุทธชินราชประดิษฐานอยู่ ณ พระวิหารทางทิศตะวันนตกของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วรมหาวิหาร องค์พระนั่งขัดสมาธิอยู่บนฐานชุกชีบัวคว่ำบัวหงายพระพักตร์หันไปทางทิศ ตะวันตก (ด้านริมน้ำน่าน)พระพุทธชินราชมีซุ้มเรือนแก้วและสลักด้วยไม้สักลงรักปิดทอง ประดับเบิ้อง พระปฤษฎางค์ ปราณีตอ่อนช้อยงดงามช่วยเน้นให้พระวรกายของพระพุทธชินราช งดงาม เด่น ชัดเจนยิ่งขึ้น พระพุทธชินราช เป็นพระพุทธรูปศิลปสุโขทัย แต่มีลักษณะพิเศษที่ แตกต่างไ ปจากสุโขทัยคลาสสิก เพราะมี พระเกศรัศมียาวเป็นเปลวเพลิง วงพระพักตร์ ค่อนข้างกลมไม่ยาวรีเหมือนผลมะตูมเช่นพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย มีพระอุณาโลมผลิก อยู่ระหว่างพระโขนง พระวรกายอวบอ้วนมีสังฆายาวปลายหยักเป็นเขี้ยวตะขาบ ฝังด้วยแก้วนิ้วพระหัตถ์ทั้งสี่ยาวเสมอกัน ฝ่าพระบาท แบนราบ ค่อนข้างแคบ เมื่อเทียบกับยุคสุโขทัย ส้นพระบาทยาว มีรูปอาฬวกยักษ์และรูปท้าวเวสสุวัณ หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์เฝ้าอยู่ ที่พระเพลาเบื้องขวาและซ้ายขององค์ตามลำดับ

    พระพุทธชินราช
    เป็นพระพุทธรูปศิลปสุโขทัย ที่มีลักษณะเด่นเป็นพิเศษ ต่างไปจากพระพุทธรูปศิลปะสุโขทัย แบบอื่น ๆ อย่างชัดเจน เป็นพระพุทธรูปศิลปะสมัยสุโขทัยหมวดพิเศษ คือ พระพุทธชินราช ตามตำนาน การสร้างพระพุทธชินราช พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พญาลิไทย) รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์ ได้โปรดให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.1900 พระพุทธรูป ที่สร้างขึ้นในคราวเดียวกันนั้น มี 3 องค์ คือ

    1. พระพุทธชินราชหน้าตักกว้าง ห้าศอกคืบห้านิ้ว ณ วิหารใหญ่ทิศตะวันตก
    [​IMG]

    2. พระพุทธชินสีห์ หน้าตักกว้าง ห้าศอกคืบสี่นิ้ว ณ วิหารทิศเหนือ
    [​IMG]

    3. พระศรี ศาสดา หน้าตักกว้าง สี่ศอกคืบหกนิ้ว ณ วิหารด้านทิศใต้ในการหล่อพระพุทธรูป
    [​IMG]

    เมื่อหล่อเสร็จแล้วยังมีทองเหลืออยู่ จึงเอามารวมกันหล่อเป็นพระพุทธรูป นั่งขัดสมาธิปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง หนึ่งศอกเศษ เรียกพระนามว่า พระเหลือกับพระสาวเป็นพระยืนอีก 2 องค์

    และอิษฐที่ก่อเตาหลอมทองและสุ่มหุ่นในการหล่อพระได้เอามารวมกันก่อเป็นชุกชี สูงสามศอก ตรงตำแหน่งที่หล่อพระพุทธชินราชและปลูกต้นมหาโพธิ์บนชุกชี 3 ต้น แสดงว่าเป็นมหาโพธิ์สถานของพระพุทธชินราช พระพุทธชินศรี และพระศรีศาสดา ทั้งสามองค์จึงเรียกว่า "โพธิ์สามเส้าสืบมา" พร้อมกันนั้นได้สร้างวิหารน้อยขึ้นระหว่างต้นโพธิ์หลักหนึ่ง และได้อัญเชิญพระเหลือพร้อมพระสาวกเข้าประดิษฐาน ณ ในวิหารนั้น วิหารน้อย หลังนี้นิยมเรียกกันต่อมาว่า " วิหารพระเหลือ" หรือ "วิหารหลวงพ่อเหลือ" ตั้งอยู่ด้านหน้าพระวิหารพระพุทธชินราชเยื้องไปทางใต้เล็กน้อยพระพุทธชินราชในประเทศไทย มีพระนามว่า " พระพุทธชินราช" อยู่ 2 องค์ คือ

    1.พระพุทธชินราชที่ประดิษฐานอยู่ ณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร

    2.พระพุทธชินราชวโรภาสธรรมจักรอรรคปฐมเทศนา นราสบพิตร ประดิษฐานอยู่ณ พระวิหารวัดพระเชตุพน เป็นพระพุทธรูปนั่ง ปางปฐมเทศนา หน้าตักกว้าง สี่ศอกห้านี้ว

    เมื่อการสร้างพระพุทธรูปเสร็จสมบูรณ์แล้ว พระมหาธรรมราชชาที่ 1 โปรดให้อัญเชิญพระพุทธชินราช ประดิษฐาน ณ พระวิหารใหญ่ด้านทิศตะวันตก พระพุทธชินศรี ประดิษฐาน ณ พระวิหารด้านทิศเหนือ พระศรี ศาสดา ประดิษฐาน ณ พระวิหารด้านทิศใต้

    เนื่องจากพระพุทธชินราช มีลักษณะงดงามที่สุดในบรรดาพระพุทธรูปในประเทศไทย และเป็นที่เคารพสักการบูชาของประชาชนทุกชั้น พระบามสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้โปรดให้หล่อพระพุทธชินราชจำลองขึ้นใหม่เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม ร.ศ.120 (พ.ศ.2444) แล้วอัญเชิญไปประดิษฐาน เป็นพระประธาน ณ พระอุโบสถ วัดเบญจมบพิตร จังหวัดพระนคร (กรุงเทพฯปัจจุบัน)พระพุทธชินสีห์ และพระศรีศาสดาที่ประดิษฐานในวัดพระศรี รัตนมหาธาตุปัจจุบันนี้เป็นพระพุทธรูปปั้นก่ออิฐถือปูน ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดให้สร้างขึ้นใหม่แทน พระพุทธชินสีห์ และพระ ศรีศาสดาองค์เดิม และอัญเชิญองค์เดิมไปประดิษฐาน ณ วัดบวรนิเวศวิหารประตูประดับมุก 1 คู่ ณ พระวิหารหลวงพ่อพุทธชินราช

    เมื่อ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เสด็จขึ้นมานมัสการพระพุทธชินราชครั้งที่ 2 ได้ทรงสร้างบานประตูประดับมุกคู่หนึ่ง สำหรับพระวิหารพระพุทธชินราชติดอยู่ที่ประตูพระวิหาร ชั้นนอกจารึกที่บานประตูข้างขวามือ (ผู้เข้าไป) ว่า " โปรดเกล้าฯ ให้ช่าง 130 คน เขียนรายประดับมุก เมื่อ พ.ศ.2299 รวมเวลาประดับมุก 5 เดือน 20 วัน บานหนึ่ง ประตู ไม้จำหลักเดิม นำไปเป็น บานประตูพระวิหารพระแท่นศิลาอาสน์จังหวัดอุตรดิตถ์ (พระพุทธชินราช ในพระราชนิพนธ์ของ ร.5 พ.ศ.2460)

    ตำนานพระพุทธชินราช
    ตำนานการสร้างพระพุทธชินราชปรากฏหลักฐานทางโบราณคดีว่า พระมหาธรรมราชาที่ (พญาลิไทย) รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์พระรวง กรุงสุโขทัย โปรดให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.1900 ตามพงศาวดารเหนือ ได้กล่าวเรื่องการสร้างพระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห์ และพระศรีศาสดา เจือนิยายไว้ มีใจความว่า เมื่อพระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎกได้โปรดให้สร้าง เมืองพิษณุโลก เสร็จเรียบร้อยแล้วก็ตรัสให้สร้างวัดพระรัตนมหาธาตุ มีพระมหาธาตุ รูปปรางค์ สูง 8 วา และ พระวิหารทิศ กับระเบียงรอบพระมหาธาตุ ทั้ง 4 ทิศ โปรดให้ช่างชาวชะเลียง (สวรรคโลก) เชียงแสน และหริภุณชัย(ลำพูน) ร่วมมือกันสร้าง พระพุทธรูป หล่อด้วยทองสัมฤทธฺ์ 3 องค์ สำหรับประดิษฐานในพระวิหารทิศ ได้เริ่มทำพิธีเททองหล่อ ณ วันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 ปีเถาะ สัปตศกจุลศักราช 317 (พ.ศ.1498) เมื่อกะเทาะหุ่นออกแล้ว ทองคงแล่น ติดเป็นองค์พระบริบูรณ์เพียง 2 องค์ คือ พระพุทธชินสีห์ กับพระศรีศาสดา ส่วนพระพุทธชิราชทองไม่แล่นติดเต็มพระองค์ ต้องทำพิธีหล่อต่อมาอีก 3 ครั้งก็ยังไม่สำเร็จ ครั้งหลังสุด พระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎก ต้องตั้งสัษจาธิษฐาน แล้วทำพิธีเททองหล่อเมื่อ วันพฤหัสบดี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 6 ปีมะเส็ง นพศกจุศักราช 319 (พ.ศ.1500) จึงสำเร็จเป็นองค์พระบริบูรณ์ในการหล่อครั้งหลังสุดนี้ปรากฏว่ามีปะขาวผู้หนึ่งจะมาแต่ใด ไม่มีใครทราบได้มาช่วยปั้นหุ่น และเททองหล่อพระด้วยเมื่อสร็จพิธีหล่อพระแล้ว ปะขาวก็ออกเดินทาง ไปทางเหนือเมืองพอถึงหมู่บ้านแห่งหนึ่งก็หายตัวไปไม่มีผู้ ใดพบเห็นอีก

    ดังนั้น จึงเข้าใจกันว่าปะขาว ผู้นั้นคือ เทวดา แปลงตัวมาช่วยหล่อพระพุทธชินราชจึงได้พุทธลักษณะงดงามยิ่งนัก เลยเป็นเหตุให้เกิด ความเลื่อมใสในพระพุทธรูปองค์นี้ยิ่งขึ้น ส่วนหมู่บ้านที่ปะขาวไปหายตัวนั้น ก็เลยได้นามในภายหลังว่า บ้านปะขาวหาย หรือตาผ้าขาวหาย มาจนทุกวันนี้(พระพุทธชินราช ในพระราชนิพนธ์ของ ร.5 พ.ศ.2460)

    พระวิหารพระพุทธชินราช
    เป็นวิหารเก้าห้อง เช่นเดียวกันกับวิหารพระอัฏฐารส แต่ย่อมกว่าเล็กน้อย ออกแบบแผนผังเป็นพิเศษเพื่อเชิดชูพระพุทธชินราชให้เด่นขึ้นพื้นวิหารได้ลดระดลงทีละน้อยเมื่อมองจากภายนอกพระวิหารองค์พระจะอยู่ในระดับสายตา พอดี มีหน้ามุกโถง ลักษณะสถาปัตยกรรมเป็นโครงสร้างเครื่องประดุ แบบสุโขทัย หลังคาซ้อน สามชั้น ชั้นบนสุดอยู่ตรงช่วง พระประธาน และมี หลังคา ปีกนกสองชั้นเลยออกมา สี่ชั้น หน้าบันของมุกโถงเป็นแบบลูกฟักหน้าพรหมหรือ จั่วภควัม ชั้นล่างสุดจำหลักไม้ เป็นรูป เทพพนม ช่วงละองค์ ล้อมรอบด้วย ลาย ดอกไม้ประกอบ และชั้นบนสุดตรงหน้าพรหมแกพสลักเป็นรูปแจกันดอกไม้ มีเทพยดายืประนมมือ อยู่ทั้งสองข้าง หน้าบันและลวดลายลงรักปิดทองทั้งหมด ปั้นลมมีลักษณะเส้นอ่อนโค้งน้อย ๆ ประดับด้วยใบ ระกา แบบสุโขทัย มีหลังคาต่ำเพราะมีช่วง ปีกนก ถึงสี่ชั้น ผนังจึงต่ำมาก หน้าต่าง เป็นแบบลูกตั้ง ด้านละเจ็ดบาน ปิดเปิดได้ อยู่ระหว่างเสาแบน แต่ละบานเจราะช่องลม และช่องแสงสว่าง บานละ หกช่อง เป็นช่องเล็ก ๆ แสงสว่างผ่านเข้าออกได้น้อยมาก พื้นผนังภายในระหว่างช่วงหน้าต่าง มีงานจิตกรรมฝาผนังทุกช่อง แต่ละช่องมีรูป ทวยเทพ พับเพียบประนมกรกลุ่มละสามองค์ หันหน้าสู่พระประธาน พื้นหลัง ของเทพยดาเป็นลาย ดอกไม้ร่วง ยังคงมีสีสดใสงดงาม สองทางเข้า มีจิตกรรม ฝาผนังเรื่องเวสสันดอนชาดก และพุทธประวัติ อยู่ทางซ้ายและขวามตามลำดับ ส่วนเบื้องหลังองค์พระพุทธชินราช นั้นใช้สีดำทา เป็นพื้นมีรูปเทพยดาประนมกร อยู่ข้างละองค์ประดับด้วยลายดอกไม้ร่วงสีทองระยะห่างกันพองามมภายใน พระวิหาร มีเสาร่วมในประธาน สองแถวเป็นเสากลม ขนาดใหญ่แถวละเจ็ดต้น รับบชายคาปีกนก อีกสองแถวเป็นเสากลมขนาดเล็กอีกแถว ๆ ละเจ็ดต้น รวมเสาทั้งหมด 28 ต้น เสาแต่ละต้นเขียนลายทองประดับพื้นสีดำ เป็นลายพุ่มทรงข้าวบิณฑ์ก้านแย่ง ช่วงคอเสาและเชิงเสาเขียนลายกรุยเชิงอย่างสวยงาม มีกลีบบัวซ้อน สลับกันห้าชั้น ลงรักปิดทองแวววาวรองรับขื่อและโครงสร้างแบบเครื่องประดุ ซี่งเป็นเครื่องบน ขื่อ ทาด้วยสีชาด ตอนหัวและท้ายขื่อ เขียนประดับ ด้วยลายกรุยเชิง ตรงเสาและขื่อ ช่วงหน้าพุทธชินราช มีลายรวงผึ้ง และที่เสามีสลายสาหร่ายหัวนาคทั้งสองด้าน (พระพุทธชินราช ในพระราชนิพนธ์ ของ ร.5 พ.ศ.2460)

    ปรับข้อมูลเมื่อ10 กรกฎาคม 2003 18:42:42 SE Asia Standard Timeโดยศักดิ์นิคม ขุนกำแหง
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • chinarat3.gif
      chinarat3.gif
      ขนาดไฟล์:
      41.6 KB
      เปิดดู:
      84
    • cinasree.jpe
      cinasree.jpe
      ขนาดไฟล์:
      167.8 KB
      เปิดดู:
      66
    • sesadsada.jpe
      sesadsada.jpe
      ขนาดไฟล์:
      188.2 KB
      เปิดดู:
      76
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระพุทธชินราช’ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ.พิษณุโลก
    http://www.dhammajak.net/forums/view...p?f=24&t=19299

    ‘พระพุทธชินราช’
    วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อ.เมือง จ.พิษณุโลก

    “พระพุทธชินราช” ประดิษฐานอยู่ในพระวิหารใหญ่ ด้านทิศตะวันตก
    ของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วรมหาวิหาร (วัดใหญ่) อ.เมือง จ.พิษณุโลก
    ซึ่งเป็นด้านหน้าวัด ผินพระพักตร์ไปทางด้านริมแม่น้ำน่าน
    องค์พระนั่งขัดสมาธิอยู่บนฐานชุกชีบัวคว่ำบัวหงาย
    เป็นพระพุทธรูปที่มีส่วนสัดสมตามแบบประติมากรรม
    มีพุทธลักษณะงดงามมากที่สุดองค์หนึ่งในประเทศไทย

    ดังพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔
    ได้ตรัสยกย่องสรรเสริญพระพุทธชินราช ว่า
    “งามหาพระพุทธรูปองค์ใดเปรียบมิได้ เป็นพระพุทธปฏิมากรดีล้ำเลิศ
    ประกอบไปด้วยพุทธลักษณะอันประเสริฐ มีสิริอันเทพยดา
    หากอภิบาลรักษา ย่อมเป็นที่สักการบูชานับถือแต่โบราณ”

    [​IMG]

    พระพุทธชินราช เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะสุโขทัย
    ขนาดหน้าตักกว้าง ๕ ศอก ๑ คืบ ๕ นิ้ว (หรือ ๒.๘๗๕ เมตร)
    มีส่วนสูงตั้งแต่หน้าตักถึงพระเกศ ๗ ศอก (หรือ ๓.๕ เมตร)
    พระพักตร์ทรงรูปไข่ หรือเรียกว่า รูปหน้านาง
    ที่แสกพระพักตร์มีเครื่องหมายศูลประดับด้วยเพชร แสดงให้เห็นเป็นอุณาโลม

    การสร้างใช้วิธีหล่อเป็นท่อนๆ ด้วยทองสัมฤทธิ์ตลอดทั้งองค์
    นิ้วพระพักตร์และพระบาทเสมอกัน แต่แรกสร้างนั้นยังไม่ได้ปิดทอง
    คงขัดเงาเกลี้ยงแบบทองสัมฤทธิ์เท่านั้น

    ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าสร้างพระพุทธชินราชในปีใด
    แต่มีการสันนิษฐานโดยอ้างอิงตามพงศาวดาร
    คาดว่าน่าจะสร้างพร้อมกับ ‘พระพุทธชินสีห์’ และ ‘พระศรีศาสดา’
    ในรัชสมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พญาลิไท)

    จากนั้นจึงมีการลงรักปิดทององค์พระเป็นครั้งแรก
    ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ปีพุทธศักราช ๒๑๗๔
    สมเด็จพระเอกาทศรถ โปรดให้นำทองเครื่องราชูปโภคไปแผ่เป็นทองแผ่น
    แล้วนำมาปิดพระพุทธชินราชด้วยพระหัตถ์ของพระองค์เองจนแล้วเสร็จ

    [​IMG]

    ต่อมาในคราวที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕
    เสด็จประพาสมณฑลฝ่ายเหนือ ได้โปรดเกล้าฯ
    ให้ปฏิสังขรณ์และลงรักปิดทององค์พระพุทธชินราชอีกครั้ง
    พระพุทธชินราชจึงงดงามยิ่งดังที่เห็นในปัจจุบัน

    พระพุทธชินราช เป็นพระพุทธรูปที่มีเรือนแก้วหรือที่เรียกว่า พระรัศมี
    แกะสลักด้วยไม้สักลงรักปิดทอง มีลวดลายเป็นรูปนาค
    วงขนานไปตามทรงขององค์พระ ขึ้นไปบรรจบกันที่เหนือพระเกศ
    มีลักษณะเป็นลายรักร้อยและลายทองสร้อยสลับกัน
    มีสายสังวาลทำด้วยทองเนื้อนพเก้า หรือทองสีดอกบวบ
    คือ ตรานพรัตน์ราชวราภรณ์ ประดับด้วยบุศย์น้ำเพชร
    ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ ทรงสร้างถวายเป็นพุทธบูชา

    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ รัชกาลปัจจุบัน
    ได้ถวายตรานพรัตน์แด่พระพุทธชินราช เมื่อคราวเสด็จภาคเหนือ
    ในปี พ.ศ.๒๕๐๑ ซึ่งยังไม่เคยมีพระพุทธรูปองค์ใด
    ได้รับเครื่องราชสักการะสูงส่งถึงเพียงนี้ และมีรูปยักษ์ทั้งซ้ายขวา
    คือ ท้าวเวสสุวรรณ และท้าวอาฬวกยักษ์ หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์

    [​IMG]

    พระพุทธรูปองค์นี้แสดงออกซึ่งความสงบเย็น ความมีสติปัญญา
    ความเมตตาอันหาที่เปรียบไม่ได้ ถือเป็นความอัศจรรย์
    ที่คนไทยเมื่อประมาณพันปีล่วงมาแล้ว มีความสามารถอย่างสูงส่ง
    ที่สามารถนำเอาพุทธจริยาทั้งสามประการ คือ พระมหากรุณาคุณ
    พระวิสุทธิคุณ และพระปัญญาคุณ ซึ่งเป็นนามธรรมมาถ่ายทอด
    เป็นรูปลักษณะของมนุษย์ที่ปั้น หล่อ ให้มองเห็นในความรู้สึกส่วนลึก
    ของผู้ที่ได้ประสบพบเห็นได้เช่นที่ปรากฏในพุทธลักษณะของพระพุทธชินราชนี้

    พระพุทธชินราช นอกจากเป็นพระปฏิมากร ที่มีลักษณะงดงามอย่างยอดเยี่ยมแล้ว
    ยังเป็นพระพุทธรูปที่ทรงมีพระปาฏิหาริย์เป็นอัศจรรย์อีกมากมายหลายอย่าง
    ซึ่งหลายๆ คนได้เคยเล่าสืบต่อกันมา ที่ปรากฏในประวัติศาสตร์ก็มีเช่น
    เมื่อคราวเมืองพิษณุโลกถูกเผาในรัชกาลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
    ตอนอื่นๆ ไฟไหม้หมด แต่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ
    ซึ่งเป็นที่สถิตของพระพุทธชินราช หาได้ไหม้ไฟไม่

    ปัจจุบัน ผู้คนส่วนใหญ่นิยมกราบไหว้ขอพรให้ประสบแต่สิ่งที่ดีงามในชีวิต
    ประสบความสำเร็จในทุกกิจการงาน
    รวมถึงการสักการะวัตถุมงคลที่มีพระพุทธชินราชเป็นองค์ประกอบหลัก

    [​IMG]

    สำหรับคาถากราบไหว้มีอยู่ว่า “นะ ชาลีติ ปะสิทธิลาภา ปะสันนะจิตตา
    สะทา โหติ ปิยัง มะมะ สัพเพ ชะนา พะหู ชะนา สัพเพ ทิสา
    สะมาคะตา กาละโภชะนา วิกาละโภชะนา อาคัจฉันติ ปิยัง มะมะ”

    เนื่องจากวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เป็นพระอารามหลวง (วัดหลวง)
    แต่เดิมวัดนี้มีงานฉลองกันตามโอกาส หลังจากในการสร้างพระพุทธรูปขึ้นมา
    หรือเมื่อพระมหากษัตริย์เสด็จมานมัสการพระพุทธชินราช จึงจะโปรดเกล้าฯ
    ให้มีการฉลองสมโภช ๓ วันบ้าง ๕ วันบ้าง ๗ วันบ้างแล้วแต่ความเหมาะสม

    ปัจจุบันนี้ ทางวัดได้จัดงานประจำปีขึ้นมาตั้งแต่เมื่อปี พ.ศ.๒๔๗๗
    กำหนดเอาวันพระกลางเดือน ๓ เป็นต้นไป มีการฉลองใหญ่ถึง ๗ วัน ๗ คืน
    กลายเป็นงานประจำปีของทางวัด จัดขึ้นในราวเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี

    เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้นมัสการกราบไหว้
    พระพุทธชินราชหรือหลวงพ่อใหญ่ได้อย่างทั่วถึง

    [​IMG]
    ป้ายชื่อวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วรมหาวิหาร (วัดใหญ่)

    [​IMG]
    วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วรมหาวิหาร (วัดใหญ่)



    หนังสือไหว้พระประธาน ๗๖ จังหวัด
    กองบรรณาธิการข่าวสด สำนักพิมพ์มติชน
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    โมทนาครับคุณเพชร

    ผมลงให้ตามที่ผมบอกแล้วนะครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...