พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ผมจำได้ว่า องค์ซ้ายมือ มีคนถือไว้เป็นชั่วโมงครับ

    .
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • kromta b.jpg
      kromta b.jpg
      ขนาดไฟล์:
      499.7 KB
      เปิดดู:
      38
    • kromta b1.jpg
      kromta b1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      168.2 KB
      เปิดดู:
      63
    • kromta b2.jpg
      kromta b2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      184.5 KB
      เปิดดู:
      26
    • kromta r.jpg
      kromta r.jpg
      ขนาดไฟล์:
      540 KB
      เปิดดู:
      36
    • kromta r1.jpg
      kromta r1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      161.7 KB
      เปิดดู:
      56
    • kromta r2.jpg
      kromta r2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      187.9 KB
      เปิดดู:
      35
    • wang 1.jpg
      wang 1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      431.4 KB
      เปิดดู:
      28
    • wang 2.jpg
      wang 2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      431.4 KB
      เปิดดู:
      33
    • ru 1.jpg
      ru 1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      125.2 KB
      เปิดดู:
      43
    • ru 2.jpg
      ru 2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      100.8 KB
      เปิดดู:
      37
    • ru 3.jpg
      ru 3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      354.4 KB
      เปิดดู:
      39
    • mo1.JPG
      mo1.JPG
      ขนาดไฟล์:
      12.8 KB
      เปิดดู:
      21
    • mo2.JPG
      mo2.JPG
      ขนาดไฟล์:
      13.5 KB
      เปิดดู:
      53
    • PB290064.JPG
      PB290064.JPG
      ขนาดไฟล์:
      1.2 MB
      เปิดดู:
      91
    • 1.JPG
      1.JPG
      ขนาดไฟล์:
      156.1 KB
      เปิดดู:
      278
    • 2.JPG
      2.JPG
      ขนาดไฟล์:
      142.7 KB
      เปิดดู:
      37
    • 3.JPG
      3.JPG
      ขนาดไฟล์:
      110.7 KB
      เปิดดู:
      37
    • 4.JPG
      4.JPG
      ขนาดไฟล์:
      67.5 KB
      เปิดดู:
      44
    • 514876-topic-ix-7.jpe
      514876-topic-ix-7.jpe
      ขนาดไฟล์:
      16 KB
      เปิดดู:
      46
    • 514876-topic-ix-8.jpe
      514876-topic-ix-8.jpe
      ขนาดไฟล์:
      17.5 KB
      เปิดดู:
      45
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 ธันวาคม 2011
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    [​IMG]
    337.3 KB, ดาวน์โหลด 97 ครั้ง


    เกือบหมดแล้วหรือครับคุณnongnooo เหอๆๆๆๆ

    พระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศมหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

    ทรงเป็นพระอนุชาของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล (พระมหาอุปราช) หรือที่ออกพระนามกันว่า "วังหน้า" มีพระเกียรติยศเป็นพระเจ้าแผ่นดินพระองค์ที่ 2 เสมอด้วยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2394 เมื่อทรงมีพระชนมพรรษาได้ 43 พรรษา มีพระนามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า สมเด็จพระปวเรนทราเมศ มหิศเรศ รังสรรค์ มหรรต วรรคโชไชย มโหฬารคุณอดุลยพิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์ บวรจักรพรรดิราช บวรนาถบพิตร พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว


    พระราชประวัติ
    พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 4 กันยายนพ.ศ. 2351 ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 50 ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเป็นโอรสองค์ที่ 3 ในสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี มีพระนามเดิมว่า เจ้าฟ้าจุฑามณี หรือเป็นที่รู้จักอย่างดีคือ เจ้าฟ้าน้อย พระองค์ทรงเป็นพระอนุชาของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    [แก้] ขณะยังทรงพระเยาว์

    พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า เจ้าฟ้าจุฑามณี เป็นที่รู้จักกันในพระนามว่า เจ้าฟ้าน้อย เป็น พระราชโอรสลำดับที่ 50 และเป็นพระราชกุมารลำดับที่ 27 ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 กับ สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี ทรงพระราชสมภพ เมื่อวันอาทิตย์ เดือน 10 ขึ้น 15 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2351 ประสูติที่พระราชวังเดิม คลองบางกอกใหญ่และมีคุณหญิงนก ไม่ทราบนามสกุล เป็นพระพี่เลี้ยงในสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว <SUP class=reference id=cite_ref-0>[1]</SUP>
    เมื่อมีพระชนมายุได้ 16 พรรษา ได้เข้ารับราชการในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ปรากฏว่ามีความชอบในราชการ และทรงได้รับการแต่งตั้งให้ทรงกรมเป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2375 (พระชนมายุ 24 พรรษา)
    นับย้อนไปในอดีตตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นราชธานี สืบมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์นั้น พระเจ้าแผ่นดินมักจะทรงสถาปนาให้ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าพระองค์ใหญ่ที่เกิดจากพระอัครมเหสี เป็นพระมหาอุปราช ซึ่งจะทรงดำรงตำแหน่งเป็น พระเจ้าแผ่นดินต่อจากพระองค์ แต่บางรัชกาลก็ทรงแต่งตั้ง สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอที่มีความชอบต่อแผ่นดินขึ้นเป็น พระมหาอุปราช (เรียกในราชการว่า กรมพระราชวังบวรสถานมงคล หรือ วังหน้า) และตามหลักฐานเท่าที่มีปรากฏใน พระราชพงศาวดารของไทยเรา การที่พระเจ้าอยู่หัวทรงแต่งตั้งพระอนุชาขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดินพระองค์ที่สอง นั้น มีเฉพาะ สมัยกรุงศรีอยุธยา คือ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระเอกาทศรถเท่านั้น ก่อนที่จะมาถึงรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว การที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนา พระเจ้าน้องยาเธอไว้ในตำแหน่งพระมหาอุปราช และให้มีพระราชอิสริยยศเทียบเท่าพระเจ้าแผ่นดินนั้น มีหลายสาเหตุ แต่สาเหตุที่สำคัญเป็นเพราะพระปรีชาสามารถในหลาย ๆ ด้านของพระมหาอุปราชพระองค์นี้ที่ได้เป็นกำลังสำคัญของชาติ
    ตั้งแต่เมื่อครั้งรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ในกิจการที่เกี่ยวข้องกับต่างประเทศ โดยเฉพาะพวกฝรั่งชาว ตะวันตก และพร้อมกับเป็น พระกำลังที่สำคัญยิ่งของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้ทรงเข้าร่วมการเจรจาทำสัญญาทางพระราชไมตรีกับต่างประเทศ เช่น สนธิสัญญาเบาริง ซึ่งเป็นสนธิสัญญา ที่มีชื่อเสียงโด่งดังกับราชทูตประเทศอังกฤษ พระเกียรติยศชื่อเสียง ในด้านความรอบรู้ของใต้ฝ่าละอองธุลี พระบาทในภาษา หลายภาษา และในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชั้นสูงหลายวิชา ซึ่งทรงรอบรู้ผิดไปจากคนในหมู่ชาติตะวันออกมาก ซึ่งก็ได้แพร่สะพัดถึงสหรัฐอเมริกา ด้วยทรงทราบชื่อประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาทุกคนด้วย
    [แก้] พระราชอัชฌาสัยและพระปรีชาสามารถ


    พระราชลัญจกรประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว


    พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชอัธยาศัยต่างจากพระเชษฐามาก เพราะฝ่ายแรกชอบสนุกเฮฮา ไม่มีพิธีรีตองอะไร ส่วนฝ่ายหลังค่อนข้างเงียบขรึม ฉะนั้นจึงมักโปรดในสิ่งที่ไม่ค่อยจะตรงกันนัก แต่ถ้าเป็นความสนิทสนมส่วนพระองค์แล้วพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อทรงทำอะไรก็มักนึกถึงพระราชอนุชาอยู่เสมอ เช่น คราวหนึ่งเสด็จขึ้นไปปิดทองพระพุทธรูปใหญ่วัดพนัญเชิง ก็ทรงปิดเฉพาะพระพักตร์ เว้นพระศอไว้พระราชทาน พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ ทรงปิดต่อ นอกจากนี้ทั้ง 2 พระองค์ ก็ทรงล้อเลียนกันอย่างไม่ถือพระองค์ และส่วนมากพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ จะเป็นฝ่ายเย้าแหย่มากกว่า
    พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า ฯ ทรงพระปรีชาสามารถมาก ทรงรอบรู้งานใน ด้านต่าง ๆ มากมาย เช่น งานด้านกองทัพบก กองทัพเรือ ด้านต่างประเทศ วิชาช่างจักรกล และวิชาการปืนใหญ่ ทรงรอบรู้ภาษาอังกฤษเป็นอย่างดีจนสามารถที่จะทรงเขียนโต้ตอบจดหมายเป็นภาษาอังกฤษ กับ เซอร์ จอห์น เบาริง ราชทูตอังกฤษ ที่เดินทางมาเจริญพระราชไมตรีกับประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2398 (ค.ศ. 1855) ซึ่งข้อความในสนธิสัญญานั้น ถ้าเอ่ยถึง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ จะมีคำกำกับว่า The First King ส่วนพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า ฯ จะมีคำกำกับว่า The Second King สำหรับในภาษาไทยนั้น ตามสนธิสัญญา ทางไมตรีกับประเทศอังกฤษ ในบทภาค ภาษาไทยจะแปลคำว่า The First King ว่า พระเจ้าแผ่นดินสยามพระองค์เอก ส่วนคำว่า The Second King นั้นจะแปลว่า พระเจ้าประเทศสยามพระองค์ที่ 2 พระบาทสมเด็จประปิ่นเกล้า ฯ มีพระนามปรากฏอยู่ในประกาศในอารัมภบทให้ดำเนินการเจรจาทำสนธิสัญญาฉบับนี้ด้วย ในฐานะพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 คู่กับพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ พระองค์มีสายพระเนตรที่กว้างไกล ในด้านการ ต่างประเทศ ทรงรอบรู้ข่าวสารในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็นอย่างดี ทรงทราบพระราชหฤทัยดีว่า ถ้าหากทรง ดำเนินนโยบายที่แข็งกร้าวแล้วไซร้ ไทยเราจะเสียประโยชน์ ส่วนบรรดาฝรั่งที่รู้จักมักคุ้นกับวังหน้ามักจะยกย่องชมเชยว่า ทรงเป็นสุภาพบุรุษเพราะพระองค์มีพระนิสัยสุภาพ โดยเฉพาะกับพระราชชนนี กรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์ด้วยแล้ว ทรงแสดงความเคารพเกรงกลัวเป็นอันมาก
    นอกจากนี้ทรงโปรดการท่องเที่ยวไปตามหัวบ้านหัวเมือง ทั้งเหนือและใต้ สาเหตุหนึ่งอาจเป็นเพราะมีพระอาการประชวรกระเสาะกระแสะอยู่เสมอ จึงต้องเสด็จไปเที่ยวรักษาพระองค์ตามหัวเมือง อยู่เนือง ๆ กล่าวกันว่า มักเสด็จไปประทับตามถิ่น ที่มีบ้านลาว เสด็จไปประทับที่บ้านสัมปะทวน แขวงนครไชยศรีบ้าง ทางเมืองพนัสนิคมบ้าง แต่เสด็จไปประทับที่ตำหนัก บ้านสีทา จังหวัดสระบุรีเสียโดยมาก แต่แท้ที่จริงแล้ว พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า ฯ ได้เคยเสด็จไปเที่ยวประพาสตามหัวเมือง ต่างๆ มาตั้งแต่ครั้งยังดำรงพระยศเป็น เจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิสเรศรังสรรค์แล้ว เพราะทรงประจักษ์แจ้งแก่พระปรีชาญาณว่า การเสด็จประพาสหัวเมืองเป็นประโยชน์แก่ราชการบ้านเมือง ด้วยสามารถทรงทราบทุกข์สุขของไพร่ฟ้าประชาชนได้เป็น อย่างดีซึ่งดีกว่ารายงานในกระดาษมากนัก
    [แก้] สวรรคต

    หลังจากพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว 10 ปี พระองค์ก็เริ่มทรงพระประชวรบ่อยครั้ง หาสมุฏฐานของพระโรคไม่ได้ เสด็จสู่สวรรคตเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 2 แรม 6 ค่ำ เวลาเช้าย่ำรุ่ง ตรงกับ วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2408 พระชนมพรรษา 58 พรรษา ทรงอยู่ในอุปราชาภิเษกสมบัติทั้งสิ้น 15 พรรษา
    [แก้] พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า ฯ กับการทหารเรือ

    [​IMG]
    พระบวรราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่หน้าโรงละครแห่งชาติ เชิงสะพานพระปิ่นเกล้า กรุงเทพมหานคร


    พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า ฯ ทรงใฝ่พระราชหฤทัยในวิชาการด้านจักรกลมาก และเพราะเหตุที่พระองค์โปรดการทหาร จึงทรงสนพระราชหฤทัยเกี่ยวกับอาวุธยุทธภัณฑ์เป็นพิเศษ เท่าที่ค้นพบพระบรมฉายาลักษณ์ของพระองค์ นั้น ก็มักจะ ทรงฉลองพระองค์เครื่องแบบทหาร และเป็นเครื่องแบบทหารเรือด้วย แต่เป็นที่น่าเสียดายว่าไม่มีการบันทึกพระราชประวัติ ในส่วนที่ทรงสร้างหรือวางแผนงานเกี่ยวกับ กิจการทหารใด ๆ ไว้บ้างเลย แม้ในพระราชพงศาวดาร หรือในจดหมายเหตุต่าง ๆ ก็ ไม่มีการบันทึกผลงานพระราชประวัติใน ส่วนนี้ไว้เลย และแม้พระองค์เองก็ไม่โปรดการบันทึก ไม่มีพระราชหัตถเลขา หรือมีแต่ไม่มีใครเอาใจใส่ทอดทิ้ง หรือทำลายก็ ไม่อาจทราบได้ แต่ถึงกระนั้นก็ยังมีงานเด่น ที่มีหลักฐานทั้งของฝรั่ง และไทย กล่าวไว้ แม้จะน้อยนิดแต่ก็แสดงให้เห็นถึงการริเริ่มที่ ล้ำหน้ากว่าประเทศเพื่อนบ้าน
    ผลงานนั้นคือการทหารเรือ การทหารเรือ ของไทยเรานั้น เริ่มมีเค้าเปลี่ยนจากสมัยโบราณเข้าสู่ยุคสมัยใหม่ ในสมัยรัชกาลที่ 3 และผู้ที่เป็นกำลังสำคัญ ในกิจการด้านทหารเรือในสมัยนั้น คือ เจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ และ จมื่นไวยวรนาถ (สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)) ด้วยทั้ง 2 ท่านนี้มีความรู้ในวิชาการต่อเรือในสมัยนั้น เป็นอย่างดี จึงได้รับหน้าที่ปกครอง บังคับบัญชาการทหารเรือในสมัยนั้น
    ต่อมาได้แบ่งหน้าที่กันโดยพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า ฯ ทรงบังคับบัญชาทหารเรือ วังหน้า ส่วนทหารเรือบ้านสมเด็จอยู่ในปกครองบังคับบัญชาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ ในยามปกติทั้ง 2 ฝ่าย นี้ ไม่ขึ้นแก่กันแต่ขึ้นตรงต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า ฯ ทรงฝึกฝนทหารของพระองค์ โดยใช้ทั้งความรู้และความสามารถ และ ยังทรงมุ่งพระราชหฤทัยในเรื่องการค้าขายให้มีกำไร สู่แผ่นดินด้วยมิใช่สร้าง แต่เรือรบเพราะได้ทรงสร้างเรือเดินทะเล เพื่อการค้าระหว่างประเทศอีกด้วย นอกจากนี้พระองค์ได้ทรงนำเอาวิทยาการ สมัยใหม่ของยุโรป มาใช้ฝึกทหารให้มีสมรรถภาพเป็นอย่างดี ทรงให้ร้อยเอก น็อกส์ (Thomas George Knox) เป็นครูฝึกทหารวังหน้า ทำให้ทหารไทยได้รับวิทยาการอันทันสมัยตามแบบ ทหารเกณฑ์หัดอย่างยุโรป

    การฝึกหัดใช้คำบอกทหารเป็น ภาษาอังกฤษทั้งหมดเริ่มมีเรือรบกลไฟเป็นครั้งแรก ชื่อเรืออาสาวดีรส3 และเรือยงยศอโยชฌิยา4 (หรือยงยศอโยธยา) ซึ่งเมื่อครั้งเรือยงยศอโยชฌิยา ได้เดินทางไปราชการที่สิงคโปร์ ก็ได้รับคำชมเชยจากต่างประเทศเป็นอันมาก ว่าพระองค์มี พระปรีชาสามารถทรงต่อเรือได้ และการเดินทางในครั้งนั้นเท่ากับเป็นการไปอวดธงไทยในต่างประเทศ ธงไทยได้ถูกชัก ขึ้นคู่กับธงอังกฤษ ที่ฟอร์ทแคนนิ่งด้วย และแม้พระเจ้าลูกยาเธอหลายพระองค์ก็ทรงโปรด ฯ ให้เป็นทหารเรือเช่นกัน ประวัติของเรือที่พระองค์ทรงมีใช้ในสมัยนั้น ตามที่พลเรือตรี แชน ปัจจุสานนท์ ได้รายงานเล่าไว้ในหนังสือ ประวัติทหารเรือไทย มีดังนี้
    1. เรือพุทธอำนาจ (Fairy) สร้างเมื่อ พ.ศ. 2379 เป็นเรือชนิดบาร์ก (Barque) ขนาด 200 ตัน มีอาวุธปืนใหญ่ 10 กระบอก เรือลำนี้เป็นของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า ฯ เมื่อ พ.ศ. 2384 ไปราชการทัพรบกับญวน ใช้เป็นเรือพระที่นั่งของแม่ทัพ คือพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ เมื่อครั้งทรงเป็นกรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ยกกองทัพไปรบกับญวน ตีเมืองบันทายมาศ (ฮาเตียน)
    2. เรือราชฤทธิ์ (Sir Walter Scott) สร้างเมื่อ พ.ศ. 2379 เป็นเรือแบบเดียวกันกับพุทธอำนาจ เมื่อ พ.ศ. 2384 ไปราชการทัพรบกับญวน
    3. เรืออุดมเดช (Lion) สร้างเมื่อ พ.ศ. 2384 เป็นเรือชนิดบาร์ก (Bark) ขนาด 300 ตัน เรือลำนี้เป็นของพระบาทสมเด็จ พระปิ่นเกล้า ฯ เมื่อ พ.ศ. 2384 ได้ใช้ไปราชการทัพรบกับญวน พ.ศ. 2387 ได้นำสมณทูตไปลังกา
    4. เรือเวทชงัด (Tiger) สร้างเมื่อ พ.ศ. 2386 เป็นเรือชนิดสกูเนอร์ (Schooner) ขนาด 200 ตัน เรือลำนี้เป็นของพระบาท สมเด็จพระปิ่นเกล้า ฯ
    5. เรือพุทธสิงหาศน์ (Cruizer) สร้างเมื่อ พ.ศ. 2398 เป็นเรือชนิดชิพ ขนาด 400 ตัน เรือลำนี้เป็นของพระบาทสมเด็จ พระปิ่นเกล้า ฯ
    6. เรือมงคลราชปักษี (Falcon) ซื้อเมื่อ พ.ศ. 2400 เดิมเป็นเรือของชาวอเมริกัน ชนิดสกูเนอร์ (Schooner) ขนาด 100 ตัน พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า ฯ ทรงซื้อมา แล้วดัดแปลงใช้เป็นเรือรบ เรือพระที่นั่งของพระองค์
    เกียรติประวัติของการทหารเรือไทยสมควรจะต้องยกถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เพราะพระองค์เป็น ผู้ที่ทรงสนพระราชหฤทัยในกิจการทหารเรือในสมัยนั้นเป็นอย่างมาก เมื่อปรากฏว่ามีเรือรบต่างประเทศเข้ามาเยี่ยม ประเทศไทยคราวใดพระองค์ก็มักหาโอกาสเสด็จไปเยี่ยมเยียนเรือรบเหล่านั้นเสมอ เพื่อจะได้ทรงทราบว่าเรือรบต่าง ประเทศเขาตกแต่งและจัดระเบียบเรือกันอย่างไร แล้วนำมาเป็นแบบอย่างให้กับเรือรบของไทยในเวลาต่อมา
    จากพระราชประวัติของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว จะเห็นได้ว่าพระองค์ทรงเป็นผู้นำในเรื่องเรือสมัยใหม่ ซึ่งผู้คนในสมัยนั้นไม่มีใครเชื่อเลยว่าเหล็กจะลอยน้ำได้แต่พระองค์ได้ทรงแสดงพระปรีชาสามารถให้ปรากฏ ทรงต่อเรือรบ กลไฟขึ้นเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชาติไทย ทรงมีพระปรีชาสามารถหลายด้าน ทรงแตกฉานเชี่ยวชาญภาษาอังกฤษจนสามารถติดต่อ กับชาวต่างประเทศได้เป็นอย่างดีพระสหาย และพระอาจารย์ เป็นชาว อเมริกันเสียเป็นส่วนมากทรงหมกมุ่นกับกิจการทหารเรือมาตั้งแต่ต้น ด้วยเหตุนี้จึงถือได้ว่าพระองค์ทรงเป็น ผู้บัญชาการ ทหารเรือ พระองค์แรก และควรถวายพระนามว่า ผู้บัญชาการทหารเรือวังหน้า สมควรได้รับการถวายพระเกียรติยศขั้นสูงสุด จากชาวกองทัพเรือ ตั้งแต่นี้และตลอดไป
    [แก้] พระโอรส-ธิดา

    [แก้] ประสูติก่อนบวรราชาภิเษก

    [​IMG]
    พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ์


    [​IMG]
    พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวงจันทร์


    [​IMG]
    พระเจ้าราชวงศ์เธอ กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร


    [​IMG]
    พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัควดี


    [​IMG]
    พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิมพับสรสร้อย


    • พระองค์เจ้าหญิง (พ.ศ. 2378) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเอม
    • พระองค์เจ้าหญิง (พ.ศ. 2380) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดามาลัย สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 3
    • พระองค์เจ้าชายยอดยิ่งยศ บวรราโชรสรัตนราชกุมาร (พ.ศ. 2381-2428) ประสูติแต่เจ้าคุณจอมมารดาเอม ทรงบวรราชาภิเษกเป็น กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ เมื่อ พ.ศ. 2408
    • พระองค์เจ้าชาย (พ.ศ. 2381) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดากุหลาบ
    • พระองค์เจ้าหญิงดวงประภา (พ.ศ. 2381-2438) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดามาลัย
    • พระองค์เจ้าหญิง (พ.ศ. 2381) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาตาด
    • พระองค์เจ้าหญิง (พ.ศ. 2382) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาใย
    • พระองค์เจ้าหญิงบุปผา (พ.ศ. 2382) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดากลีบ
    • พระองค์เจ้าหญิง (พ.ศ. 2382) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาบาง
    • พระองค์เจ้าชายสุธารส (พ.ศ. 2383-2436) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดากุหลาบ ทรงเป็นต้นสกุล สุธารส
    • พระองค์เจ้าหญิงสุดาสวรรค์ (พ.ศ. 2383-2455) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดามาลัย
    • พระองค์เจ้าชายวรรัตน์ (พ.ศ. 2384-2449) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเกด ทรงได้รับสถาปนาเป็นกรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ เมื่อ พ.ศ 2424 ในรัชกาลที่ 5 ทรงเป็นต้นสกุล วรรัตน์
    • พระองค์เจ้าหญิง (พ.ศ. 2384) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาบัว
    • พระองค์เจ้าหญิงตลับ (พ.ศ. 2384) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดากลีบ
    • พระองค์เจ้าชายปรีดา (พ.ศ. 2385) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเอม
    • พระองค์เจ้าหญิง (พ.ศ. 2387) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาบาง
    • พระองค์เจ้าชาย (พ.ศ. 2387) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเพื่อน
    • พระองค์เจ้าชายภาณุมาศ (พ.ศ. 2388-2431) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเอี่ยม ทรงเป็นต้นสกุล ภาณุมาศ
    • พระองค์เจ้าชายหัสดินทร์ (พ.ศ. 2388-2429) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหนู ทรงได้รับสถาปนาเป็นกรมหมื่นบริรักษ์นรินทรฤทธิ์ เมื่อ พ.ศ. 2424 ในรัชกาลที่ 5 ทรงเป็นต้นสกุล หัสดินทร
    • พระองค์เจ้าชายเนาวรัตน์ลล (พ.ศ. 2388-2433) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเอม ทรงได้รับสถาปนาเป็นกรมหมื่นสถิตย์ธำรงศักดิ เมื่อ พ.ศ. 2424 ในรัชกาลที่ 5 ทรงเป็นต้นสกุล นวรัตน์
    • พระองค์เจ้าชายเบญจางค์ (พ.ศ. 2388-2419) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเพื่อน
    • พระองค์เจ้าชาย (พ.ศ. 2390) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาด๊า
    • พระองค์เจ้าชายยุคนธร (พ.ศ. 2391) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแย้ม สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 5 ทรงเป็นต้นสกุล ยุคนธรานนท์
    • พระองค์เจ้าหญิง (พ.ศ. 2391) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดากลีบ
    • พระองค์เจ้าหญิงราษี (พ.ศ. 2391-2442) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเยียง
    • พระองค์เจ้าชาย (พ.ศ. 2392) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเอี่ยม
    • พระองค์เจ้าชาย (พ.ศ. 2392) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาด๊า
    • พระองค์เจ้าชาย (พ.ศ. 2392) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเท้ย
    • พระองค์เจ้าชายกระจ่าง (พ.ศ. 2392) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเพื่อน สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 5
    • พระองค์เจ้าหญิงวงจันทร์ (พ.ศ. 2393-2459) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเอม
    • พระองค์เจ้าชายวัชรินทร์ (พ.ศ. 2393) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาตาด
    • พระองค์เจ้าหญิงจำเริญ (พ.ศ. 2393-2450) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดากลีบ
    • พระองค์เจ้าหญิงถนอม (พ.ศ. 2393-2428) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาพัน
    [แก้] ประสูติเมื่อบวรราชาภิเษกแล้ว

    • พระองค์เจ้าชายโตสินี (พ.ศ. 2394-2458) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดากลีบ ทรงเป็นต้นสกุล โตษะณีย์
    • พระองค์เจ้าชายเฉลิมลักษณวงศ์ (พ.ศ. 2396-2456) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาขลิบ ทรงได้รับสถาปนาเป็นกรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร เมื่อ พ.ศ. 2446
    • พระองค์เจ้าชายนันทวัน (พ.ศ. 2396-2434) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหนู ทรงเป็นต้นสกุล นันทวัน
    • พระองค์เจ้าชาย (พ.ศ. 2396) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจัน
    • พระองค์เจ้าหญิง (พ.ศ. 2396) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดากลีบ
    • พระองค์เจ้าชาย (พ.ศ. 2397) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาพลับ
    • พระองค์เจ้าชายวัฒนา (พ.ศ. 2397) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาลำภู
    • พระองค์เจ้าหญิง (พ.ศ. 2397) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดากลีบ
    • พระองค์เจ้าหญิงภัควดี (พ.ศ. 2398) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาพลอย สิ้นพระชนม์ พ.ศ. 2483 ในรัชกาลที่ 8
    • พระองค์เจ้าหญิง (พ.ศ. 2398) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาช้อย
    • พระองค์เจ้าหญิง (พ.ศ. 2398) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดากลีบ
    • พระองค์เจ้าหญิงวรภักตร์ (พ.ศ. 2398-2427) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาส่วน
    • พระองค์เจ้าหญิงวิลัยทรงกัลยา (พ.ศ. 2398) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาขลิบ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 5
    • พระองค์เจ้าหญิงเฉิดโฉม (พ.ศ. 2399-2489) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสีดา
    • พระองค์เจ้าหญิงประโลมโลก (พ.ศ. 2399-243) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแก้ว
    • พระองค์เจ้าชาย (พ.ศ. 2399) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาพลับ
    • พระองค์เจ้าชายพรหเมศ (พ.ศ. 2399-2434) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาพรหมา ทรงเป็นต้นสกุล พรหเมศ
    • พระองค์เจ้าหญิงโศกส่าง (พ.ศ. 2399) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหงส์
    • พระองค์เจ้าหญิงพิมพับสรสร้อย (พ.ศ. 2399-2468) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาวันดี
    • พระองค์เจ้าชายจรูญโรจน์เรืองศรี (พ.ศ. 2399-2451) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาช้อย ทรงได้รับสถาปนาเป็นกรมหมื่นจรัสพรปฏิภาณ เมื่อ พ.ศ. 2439 ในรัชกาลที่ 5 ทรงเป็นต้นสกุล จรูญโรจน์
    • พระองค์เจ้าชาย (พ.ศ. 2400) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดากลีบ
    • พระองค์เจ้าชายสนั่น (พ.ศ. 2400) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาอ่อน ทรงเป็นต้นสกุล สายสนั่น
    • พระองค์เจ้าชาย (พ.ศ. 2400) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาช้อย
    • พระองค์เจ้าหญิง (พ.ศ. 2401) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสายบัว
    • พระองค์เจ้าหญิงสอางองค์ (พ.ศ. 2403-2465) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาวันดี
    [แก้] อ้างอิง

    1. ^ อนุสรณ์งานฌาปนกิจศพ นายวีระ ปัทมาคม
    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

    พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว - วิกิพีเดีย
    .

    [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG]


    [​IMG]

    ที่มา จากพระบรมรูป โรงละครแห่งชาติ


    เครื่องดนตรีที่พระองค์ท่านโปรดปรานมากคือ แคน


    .<!-- google_ad_section_end -->
    .
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • kateen 2553.jpg
      kateen 2553.jpg
      ขนาดไฟล์:
      466.3 KB
      เปิดดู:
      378
    • 2554.JPG
      2554.JPG
      ขนาดไฟล์:
      48.1 KB
      เปิดดู:
      1,527
    • IMG_3401.jpg
      IMG_3401.jpg
      ขนาดไฟล์:
      92.2 KB
      เปิดดู:
      32
    • IMG_3402.jpg
      IMG_3402.jpg
      ขนาดไฟล์:
      105.5 KB
      เปิดดู:
      32
    • IMG_3403.jpg
      IMG_3403.jpg
      ขนาดไฟล์:
      104.8 KB
      เปิดดู:
      31
    • IMG_3404.jpg
      IMG_3404.jpg
      ขนาดไฟล์:
      93.8 KB
      เปิดดู:
      33
    • IMG_3405.jpg
      IMG_3405.jpg
      ขนาดไฟล์:
      80.1 KB
      เปิดดู:
      36
    • IMG_3417.jpg
      IMG_3417.jpg
      ขนาดไฟล์:
      52.5 KB
      เปิดดู:
      53
    • IMG_3418.jpg
      IMG_3418.jpg
      ขนาดไฟล์:
      42.5 KB
      เปิดดู:
      185
    • IMG_3419.jpg
      IMG_3419.jpg
      ขนาดไฟล์:
      34.7 KB
      เปิดดู:
      26
    • IMG_3420.jpg
      IMG_3420.jpg
      ขนาดไฟล์:
      32.7 KB
      เปิดดู:
      25
    • IMG_3421.jpg
      IMG_3421.jpg
      ขนาดไฟล์:
      43.8 KB
      เปิดดู:
      21
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 มกราคม 2011
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ก่อนนอน สำหรับทุกๆท่านครับ

    [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG]

    รูป ไอ้มดแดง จากโชคชัยชนะ หน้าที่ 309
    http://palungjit.org/threads/พระวัง...พโลกอุดรเสก-ถ้าต้องการที่จะได้.22445/page-309
    รูปจาก อินเตอร์เน็ต

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG]

    -----------------------------------------------------

    [​IMG]

    การไหว้ 5 ครั้ง ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ( เจริญ ญาณวรเถระ )
    ชมรมพระวังหน้า เว็บพลังจิต

    หน้าที่ 1683 12 กย 52

    [​IMG]

    [​IMG]

    http://palungjit.org/threads/พระวัง...้าต้องการที่จะได้.22445/page-1683#post2423258

    หน้าที่ 1683 ลว.12 กันยายน 2552


    .
    กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ

    (6 กันยายน พ.ศ. 238128 สิงหาคม พ.ศ. 2428) พระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ายอดยิ่งยศ หรือ พระองค์เจ้ายอดยิ่งประยุรยศบวรราโชรสรัตนราชกุมาร เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ใน พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าคุณจอมมารดาเอม
    บางตำรากล่าวว่า พระองค์เจ้ายอดยิ่งยศ ทรงพระนามว่า พระองค์เจ้ายอร์ช วอชิงตัน ตามชื่อของอดีตประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาคนแรก จอร์จ วอชิงตัน (พ.ศ. 2275 - 2342) <SUP class=reference id=cite_ref-1>[2]</SUP>

    การแต่งตั้งเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล
    เมื่อพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ไม่ได้ทรงแต่งตั้งผู้ใดขึ้นดำรงตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า) เพราะในขณะนั้นพระราชโอรสพระองค์โต คือ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ ยังทรงพระเยาว์เพียง 12 พรรษา ทำให้เสี่ยงต่อการถูกแย่งชิงราชบัลลังก์ ฝ่ายสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ซึ่งถูกสงสัยมาตั้งแต่ครั้งพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงพระชนม์ว่าคิดจะชิงราชสมบัติจึงได้เสนอให้ทรงแต่งตั้งพระองค์เจ้ายอดยิ่งเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระองค์เจ้ายอดยิ่ง เป็น กรมหมื่นบวรวิไชยชาญ เมื่อ พ.ศ. 2410 แต่ไม่ได้ตั้งให้เป็นวังหน้า
    ก่อนหน้าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจะสวรรคต 1 วัน ได้มีการประชุมพระญาติวงศ์และขุนนาง ที่ประชุมอันมีสมเด็จเจ้าพระยามหาสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เป็นประธาน ตกลงที่จะแต่งตั้งกรมหมื่นบวรวิไชยชาญเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลตามคำเสนอของพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงเทเวศร์วัชรินทร์ แต่เรื่องนี้ไม่เป็นมติเอกฉันท์ของที่ประชุม เพราะพระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ ทรงคัดค้านว่า การแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลนั้น ตามโบราณราชประเพณีเป็นพระราชอำนาจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไม่ใช่เป็นหน้าที่ของที่ประชุม ซึ่งทำความไม่พอใจให้แก่สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ ท่านจึงได้ย้อนถามว่า "ที่ไม่ยอมนั้น อยากจะเป็นเองหรือ" กรมขุนวรจักรธรานุภาพ จึงตอบว่า "ถ้าจะให้ยอมก็ต้องยอม" จึงเป็นอันว่าที่ประชุมเห็นสมควรที่จะแต่งตั้งกรมหมื่นบวรวิไชยชาญเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 พระราชพิธีราชาภิเษก พระองค์เจ้ายอดยิ่งบวรยศ เป็นกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ วังหน้าองค์สุดท้ายในสมัยรัตนโกสินทร์<SUP class=reference id=cite_ref-2>[3]</SUP>
    [แก้] กรณีวิกฤตการณ์วังหน้า


    <DL><DD>ดูบทความหลักที่ วิกฤตการณ์วังหน้า
    </DD></DL>เนื่องจากสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ เป็นผู้สนับสนุนให้ได้เป็นแต่งตั้งเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ จึงทรงเกรงพระทัยสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์เป็นอันมาก
    ในช่วงต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประมาณ พ.ศ. 2417-2418 ทรงริเริ่มปฏิรูปปรับปรุงการปกครองประเทศให้ทันสมัย โดย โยงอำนาจเข้าศูนย์กลาง ทรงตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์ (Auditing Office ปัจจุบันคือ กระทรวงการคลัง) เพื่อรวมรวมการเก็บภาษีมาอยู่ที่เดียวกัน ซึ่งกระทบกระเทือนต่อการเก็บรายได้ สร้างความไม่พอใจแก่เจ้านายและขุนนางเก่าแก่เป็นอันมาก โดยเฉพาะกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ซึ่งเดิมมีรายได้แผ่นดินถึง 1 ใน 3 มีทหารในสังกัดถึง 2000 นาย และมีข้าราชบริพารเป็นจำนวนมาก และเกิดปฏิกิริยาโต้ตอบ มีการสะสมอาวุธ มีความขัดแย้งระหว่างวังหลวงกับวังหน้า จนเกือบจะเกิดสงครามกลางเมือง ซึ่งเรียกเหตุการณ์ขัดแย้งนี้ว่า วิกฤตการณ์วังหน้า <SUP class=reference id=cite_ref-3>[4]</SUP><SUP class=reference id=cite_ref-4>[5]</SUP>
    กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ทรงมีความรู้ภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี และเข้าไปคบค้าสนิทสนมกับนายโทมัส น็อกซ์ กงสุลอังกฤษ ประกอบกับในสมัยนั้น อังกฤษคุกคามสยาม ถึงขั้นเรียกเรือรบมาปิดปากแม่น้ำ ทางวังหลวงจึงหวาดระแวง เชื่อว่ามีแผนการจะแบ่งดินแดนเป็นสองส่วนคือ ทางเหนือถึงเชียงใหม่ ให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าครอง ทางใต้ให้กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญครอง นัยว่าเมื่อแบ่งสยามให้เล็กลงแล้วจะได้อ่อนแอ ง่ายต่อการเอาเป็นเมืองขึ้น
    เหตุการณ์บาดหมางเกิดขึ้นเมื่อวันหนึ่ง เกิดระเบิดขึ้นที่ตึกดินในวังหลวง ไฟไหม้ลุกลามไปถึงพระบรมมหาราชวัง ทางวังหลวงเข้าใจว่าวังหน้าเป็นผู้วางระเบิด และไม่ส่งคนมาช่วยดับไฟ ส่วนกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ก็เสด็จหลบหนีไปอยู่ในสถานกงสุลอังกฤษไม่ยอมเสด็จออกมา เหตุการณ์ตึงเครียดนี้กินเวลาถึงสองสัปดาห์ จนกระทั่งสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์เดินทางกลับจากราชบุรี เข้ามาไกล่เกลี่ย โดยฝ่ายอังกฤษและฝรั่งเศสถือว่าเหตุการณ์ครั้งนั้นเป็นการเมืองภายในของสยาม และไม่ได้เข้ามาก้าวก่าย
    กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ทรงเป็นเจ้านายที่มีความสามารถหลายด้าน ด้านนาฏกรรม ทรงพระปรีชา เล่นหุ่นไทย หุ่นจีน เชิดหนัง และงิ้ว ด้านการช่าง ทรงชำนาญเครื่องจักรกล ทรงต่อเรือกำปั่น ทรงทำแผนที่แบบสากล ทรงสนพระทัยในแร่ธาตุ ถึงกับทรงสร้างโรงถลุงแร่ไว้ในพระราชวังบวรสถานมงคล เมื่อ พ.ศ. 2426 ทรงได้รับประกาศนียบัตรจากฝรั่งเศส ในฐานะผู้เชี่ยวชาญสาขาวิชาช่าง <SUP class=reference id=cite_ref-5>[6]</SUP>
    กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ เสด็จทิวงคตเมื่อวันศุกร์ เดือน 9 แรม 3 ค่ำ ปีระกา จุลศักราช 1247 (28 สิงหาคม พ.ศ. 2428) พระชนมายุ 48 พรรษา พระราชทานเพลิง ณ พระเมรุท้องสนามหลวง เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2429 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่ได้ทรงแต่งตั้งผู้ใด ตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลว่างลง จนถึงปีจอ พ.ศ. 2429 จึงทรงสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ เป็นมกุฎราชกุมาร และยกเลิกตำแหน่งพระมหาอุปราช ตั้งแต่นั้นมา
    [แก้] พระโอรส-พระธิดา

    [แก้] ประสูติก่อนอุปราชาภิเษก

    • พระองค์เจ้าชายแฝด (ไม่มีพระนาม) (พ.ศ. 2400) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมหลวงปริก เจษฎางกูร
    • พระองค์เจ้าหญิงปฐมพิสมัย (พ.ศ. 2405-2421) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดากรุด
    [แก้] ประสูติเมื่ออุปราชาภิเษกแล้ว

    • พระองค์เจ้าชายวิไลวรวิลาศ (พ.ศ. 2411 - 2471) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเข็ม ทรงเป็นต้นสกุล วิไลยวงศ์
    • พระองค์เจ้าชายกาญจโนภาสรัศมี (พ.ศ. 2412-2463) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาปริกเล็ก ณ นคร ทรงได้รับสถาปนาเป็น กรมหมื่นชาญไชญบวรยศ เมื่อ พ.ศ. 2451 ในรัชกาลที่ 5 ทรงเป็นต้นสกุล กาญจนะวิชัย
    • พระองค์เจ้าชาย (ไม่มีพระนาม) (พ.ศ. 2413) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเวก
    • พระองค์เจ้าชาย (ไม่มีพระนาม) (พ.ศ. 2413) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาละม้าย
    • พระองค์เจ้าหญิงภัทราวดีศรีราชธิดา (พ.ศ. 2414-2442) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเลี่ยมเล็ก
    • พระองค์เจ้าชายกัลยาณประวัติ (พ.ศ. 2414-2470) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเลี่ยมใหญ่ ทรงได้รับสถาปนาเป็นกรมหมื่นกวีสุพจน์ปรีชา เมื่อ พ.ศ. 2456 ในรัชกาลที่ 6 ทรงเป็นต้นสกุล กัลยาณะวงศ์
    • พระองค์เจ้าหญิงธิดาจำรัสแสงศรี (พ.ศ. 2414-2440) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเขียวใหญ่
    • พระองค์เจ้าหญิงฉายรัศมีหิรัญพรรณ (พ.ศ. 2414-2471) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาปุ้ย
    • พระองค์เจ้าหญิง (ไม่มีพระนาม) (พ.ศ. 2515) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเวก
    • พระองค์เจ้าหญิงกลิ่นแก่นจันทนารัตน์ (พ.ศ. 2415-2418) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจั่น
    • พระองค์เจ้าชายสุทัศนนิภาธร (พ.ศ. 2415-2461) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมหลวงนวม ปาลกะวงศ์ ทรงเป็นต้นสกุล สุทัศนีย์
    • พระองค์เจ้าชายวรวุฒิอาภรณ์ (พ.ศ. 2416-2458) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาป้อม ทรงเป็นต้นสกุล วรวุฒิ
    • พระองค์เจ้าชายโอภาสไพศาลรัศมี (พ.ศ. 2416) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดากลีบ
    • พระองค์เจ้าชาย (ไม่มีพระนาม) (พ.ศ. 2416) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาอิน
    • พระองค์เจ้าหญิงอัปสรศรีราชกานดา (พ.ศ. 2416-2460) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาต่วน
    • พระองค์เจ้าชายรุจาวรฉวี (พ.ศ. 2417) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสมบุญ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 8 ทรงเป็นต้นสกุล รุจจวิชัย
    • พระองค์เจ้าหญิงเทวีวิไลยวรรณ (พ.ศ. 2418) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสุ่นใหญ่ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 8
    • พระองค์เจ้าชายวิบูลยพรรณรังษี (พ.ศ. 2419-2451) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเขียวเล็ก ทรงเป็นต้นสกุล วิบูลยพรรณ
    • พระองค์เจ้าชายรัชนีแจ่มจรัส (พ.ศ. 2419-2456) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเลี่ยมเล็ก ทรงได้รับสถาปนาเป็น กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ เมื่อ พ.ศ. 2456 ในรัชกาลที่ 6 ทรงเป็นต้นสกุล รัชนี
    • พระองค์เจ้าชายไชยรัตนวโรภาส (พ.ศ. 2419-2440) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาปริกใหญ่
    • พระองค์เจ้าหญิงวิมลมาศมาลี (พ.ศ. 2419-2464) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจั่น
    • พระองค์เจ้าหญิงสุนทรีนาฎ (พ.ศ. 2423-2513:90 ปี) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสุ่นเล็ก
    • พระองค์เจ้าหญิงประสาทสมร (พ.ศ. 2425-2456) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดายิ้ม
    • พระองค์เจ้าชายบวรวิสุทธิ์ (พ.ศ. 2426-2453) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสอาด ทรงเป็นต้นสกุล วิสุทธิ
    • พระองค์เจ้าหญิงกมุทมาลี (พ.ศ. 2427-2454) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เชื้อ อิศรางกูร
    • พระองค์เจ้าหญิงศรีสุดสวาดิ (พ.ศ. 2427-2489) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแข
    [แก้] อ้างอิง

    1. <LI id=cite_note-0>^ ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร.พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549. 360 หน้า. ISBN 974-221-818-8 <LI id=cite_note-1>^ http://www.vcharkarn.com/include/art...le.php?Aid=211 <LI id=cite_note-2>^ ทิพากรวงศ์, เจ้าพระยา. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4 เล่ม 2. พระนคร : โรงพิมพ์คุรุสภา, 2504. <LI id=cite_note-3>^ Untitled Document การแก้ไขวิกฤตชาติ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าหัว <LI id=cite_note-4>^ XREA.COM รัชกาลที่ 5 กับการเสด็จอินเดีย พ.ศ. 2414 และความเข้าใจต่อการปฏิรูปแห่งรัชสมัย
    2. ^ http://www.thairath.co.th//thairath1...pr/17_4_48.php
    กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ - วิกิพีเดีย

    .

    กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ มิได้ทิวงคตตามประวัติศาสตร์ในปี 2428

    แต่หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า ท่านได้นำกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ออกป่า และกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ได้ผนวชเป็นพระภิกษุ (อยู่ในคณะหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร (คณะโสณะ-อุตระ) โดยเป็นครูฝึกของคณะ หากมีพระภิกษุหรือบุคคล ศึกษากับคณะหลวงปู่ฯ ทางหลวงปู่กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญจะเป็นผู้ที่สอนให้ และหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร จะมาเป็นผู้ที่ทดสอบว่า ผ่านในขั้นนั้นหรือไม่)

    .



    .<!-- google_ad_section_end -->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 มกราคม 2011
  4. katicat

    katicat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2008
    โพสต์:
    1,112
    ค่าพลัง:
    +524
    pic12623.jpg

    เอามาฝากค่ะ แต่ทำไมมันเล็กยังงี้ล่ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 ตุลาคม 2008
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  6. ake7440

    ake7440 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,528
    ค่าพลัง:
    +405
    เอื๊อก.... วันนี้ท่านปาทานชิงบทเด่นไปแบบขาดลอยครับ ;aa21
     
  7. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ผมน่ะถือแป๊บ เดียวครับ ส่วนอีกท่านก็ดูไปทอนหายใจไปครับ 555555
     
  8. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    555555แจกเพลินไปหน่อยครับ จะขอเพิ่มอีกสัก 100-200ก็ไม่ยอมแฮะ หุ หุ
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ผมมีน้อยครับ เก็บไว้ดูเป็นตัวอย่างเองครับ

    .

    รูปวังหน้า

    http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1293873974&grpid=&catid=02&subcatid=0202

    http://palungjit.org/threads/พระวัง...โลกอุดรเสก-ถ้าต้องการที่จะได้.22445/page-2172
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 มกราคม 2011
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ บมจ.ธ.กรุงไทย สาขาลาดพร้าว102 บช.ออมทรัพย์เลขที่1890-13128-8 บัญชี นางพิชญ์สินี ชาญปารีสชญา,นายอุเทน งามศิริ,นายสิรเชษฎ์ ลีละสุนทเลิศ

    สำหรับงานมหากฐินที่สนส.ผาผึ้ง เพื่อร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ ในวันอาทิตย์ที่ 26 ตุลาคม 2551

    ตั้งแต่วันนี้( อังคารที่ 21 ตุลาคม 2551) ผมขอมอบพระสมเด็จ(สร้างในฤกษ์ อัศจรรย์โกลาฤกษ์) จำนวน 5 องค์

    สำหรับท่านที่ร่วมทำบุญมหากฐินในคร้งนี้ จำนวนเงินที่ร่วมทำบุญ 5,000 บาท ผมมอบให้ 1 องค์(สำหรับท่านที่เคยร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิมาแล้ว

    แต่สำหรับท่านที่ไม่เคยร่วมทำบุญมาก่อน ต้องทำบุญ 15,000 บาท ผมมอบให้ 1 องค์

    การโอนเงินร่วมทำบุญมหากฐิน ต้องโอนก่อนวันเสาร์ที่ 25 ตุลาคม 2551 เวลา 24.00 น.ครับ

    หลังวันเสาร์ที่ 25 ตุลาคม 2551 หากไม่มีใครร่วมทำบุญ ผมขอเก็บกลับมา และหากจะมอบให้กับผู้ร่วมทำบุญอีก จำนวนเงินที่ร่วมทำบุญมากกว่านี้แน่นอนครับ

    [​IMG]

    ขออธิบายเล็กน้อย ฤกษ์ "อัศจรรย์โกลาฤกษ์" นั้น เป็นฤกษ์ที่ใน 1 ปีมีเพียง 1 - 2 ครั้ง และเป็นฤกษ์ที่ใช้ในการสร้างวัตถุมงคลให้กับพระมหากษัตริย์เท่านั้น ฤกษ์นี้มีประมาณ 18 - 19 นาทีเท่านั้นครับ

    หมายเหตุ 1 ผมไม่ถ่ายรูปพระพิมพ์ลงในเว็บครับ

    หมายเหตุ 2 หากท่านที่มีประสงค์จะร่วมทำบุญ แต่ไม่มั่นใจว่า พระพิมพ์(พระเครื่อง)ที่ผมจะมอบให้เพื่อเป็นพุทธานุสติและเพื่อบูชา เป็นพระพิมพ์(พระเครื่อง)ที่ไม่แท้หรือไม่เป็นที่นิยมของวงการพระเครื่องไทย(การซื้อ-ขาย) ก็ไม่ต้องรับพระพิมพ์(พระเครื่อง)ไปครับ


    ----------------------------------------------


    หมายเหตุ หากท่านที่มีประสงค์จะร่วมทำบุญ แต่ไม่มั่นใจว่า พระพิมพ์(พระเครื่อง)ที่ผมจะมอบให้เพื่อเป็นพุทธานุสติและเพื่อบูชานั้น เป็นพระพิมพ์(พระเครื่อง)ที่ไม่แท้หรือไม่เป็นที่นิยมของวงการพระเครื่องไทย(การซื้อ-ขาย) ก็ไม่ต้องร่วมทำบุญและรับพระพิมพ์(พระเครื่อง)ไป และเป็นพระพิมพ์ที่ไม่สามารถที่จะนำไปซื้อ-ขายในวงการพระเครื่องของเมืองไทยได้

    หมายเหตุ 1 พระวังหน้า ที่ผมนำมามอบให้กับผู้ที่ทำบุญในกระทู้ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ บมจ.ธนาคารกรุงไทย สาขาลาดพร้าว102 บช.ออมทรัพย์เลขที่ 1890-13128-8 ชื่อบัญชี นางพิชญ์สินี ชาญปารีชญา ,นายอุเทน งามศิริ ,นายสิรเชษฏ์ ลีละสุนทเลิศ และผมได้บอกบุญในกระทู้พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้ เป็นพระพิมพ์ที่ไม่สามารถที่จะนำไปซื้อ-ขายในวงการพระเครื่องของเมืองไทยได้

    แต่หากจะนำไปเพื่อเป็นพุทธานุสติ และหรือการห้อยคอเพื่อคุ้มครองตนเอง และหรือการบูชาต่างๆ เพื่อเป็นการบูชาพระคุณองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ ,องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามกุกุกสันโธ ,องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม สมณโคดม ,หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ,สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ( การบูชาพระคุณพระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุธเถระเจ้า ,พระอุปคุตเถระเจ้า เนื่องจากการนำเข้าพิธีพุทธาภิเษกเพิ่มเติม) ,การบูชาพระคุณองค์พระมหากษัตริย์ไทยทุกๆพระองค์ ,พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ,พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ,พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ,พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ,องค์อุปราชวังหน้า รัตนโกสินทร์ทุกๆพระองค์ และทั้งช่างสิบหมู่แห่งวังหน้า ,วังหลวง ,วังหลัง ,ช่างราษฎร์ทุกๆท่านและเทพเทวาทั้ง 16 ชั้นฟ้าและที่อยู่ในองค์พระพิมพ์(พระเครื่อง)ครับ

    ซึ่งเรื่องที่ผมได้บอกนั้น เป็นความเชื่อ ,ความเห็นของผม รวมทั้งคณะของผม ซึ่งก็แล้วแต่ท่านผู้ร่วมทำบุญและท่านผู้อ่านทุกๆท่าน จะมีความคิดเห็นอย่างไร ก็สุดแล้วแต่ครับ

    โมทนาบุญทุกประการกับทุกๆท่านครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 ตุลาคม 2008
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  12. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    หมายเหตุ 3 ท่านใดจองและร่วมทำบุญก่อน มีสิทธิ์ได้ก่อน (การทำบุญกับมูลนิธิทั้ง 3 แห่ง ทำเร็ว บุญได้เร็วครับ)
    ท่านปาทานครับตรงนี้น่าจะตัดออกครับเพราะเข้าใจว่างานนี้เป็นของผาผึ้งเดี๋ยวงงกันครับ
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ตัดออกแล้วครับ ขอบคุณครับ
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ไว้จะนำไปให้ชมกันในวันที่นัดพบกันครั้งต่อไป เป็นพระสมเด็จที่อยู่ในชุดเดียวกัน แต่การสร้างนั้นอยู่คนละฤกษ์ครับ

    จะบอกว่า ไม่ใช่ว่า เนื้อเหมือนกัน พระราชพิธีพุทธาภิเษกเป็นพระราชพิธีเดียวกัน มวลสารเหมือนกัน องค์ผู้อธิษฐานจิต(สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี)องค์เดียวกัน แต่การสร้างคนละฤกษ์ พลังอิทธิคุณแตกต่างกันครับ
     
  15. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ไม่ต้องอยู่ในฤกษ์แต่เป็นองค์ซ้ายแทนก็ได้อ่ะครับ หุ หุ
    แล้วท่านปาทานก็ต้องตอบว่า ผมมีแค่องค์เดียวเองครับ ช่ายมั้ย หุ หุอีกทีครับ
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พี่ท่านนึง มารับกำปั่นจากผมแล้ว 1 ใบ เห็นแล้วตกใจตะลึง ว่า ช่างในสมัยโบราณฝีมือฉกาจ เยี่ยมจริงๆครับ

    พี่ท่านนี้ บอกกับผมว่า เสียดายในฝีมือช่างว่า ช่างปัจจุบันมีความสามารถไม่ถึงช่างในอดีต เสียดายมากๆ ผมเองก็เสียดายครับ แต่ทุกวันนี้ผมเองก็ไหว้ช่างสิบหมู่แห่งวังหน้าและวังหลวงด้วย

    .
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ บมจ.ธ.กรุงไทย สาขาลาดพร้าว102 บช.ออมทรัพย์เลขที่1890-13128-8 บัญชี นางพิชญ์สินี ชาญปารีสชญา,นายอุเทน งามศิริ,นายสิรเชษฎ์ ลีละสุนทเลิศ

    สำหรับงานมหากฐินที่สนส.ผาผึ้ง เพื่อร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ ในวันอาทิตย์ที่ 26 ตุลาคม 2551

    ตั้งแต่วันนี้( อังคารที่ 21 ตุลาคม 2551) ผมขอมอบพระสมเด็จ(สร้างในฤกษ์ อัศจรรย์โกลาฤกษ์) จำนวน 5 องค์

    สำหรับท่านที่ร่วมทำบุญมหากฐินในคร้งนี้ จำนวนเงินที่ร่วมทำบุญ 5,000 บาท ผมมอบให้ 1 องค์(สำหรับท่านที่เคยร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิมาแล้ว

    แต่สำหรับท่านที่ไม่เคยร่วมทำบุญมาก่อน ต้องทำบุญ 15,000 บาท ผมมอบให้ 1 องค์

    การโอนเงินร่วมทำบุญมหากฐิน ต้องโอนก่อนวันเสาร์ที่ 25 ตุลาคม 2551 เวลา 24.00 น.ครับ

    หลังวันเสาร์ที่ 25 ตุลาคม 2551 หากไม่มีใครร่วมทำบุญ ผมขอเก็บกลับมา และหากจะมอบให้กับผู้ร่วมทำบุญอีก จำนวนเงินที่ร่วมทำบุญมากกว่านี้แน่นอนครับ

    [​IMG]

    ขออธิบายเล็กน้อย ฤกษ์ "อัศจรรย์โกลาฤกษ์" นั้น เป็นฤกษ์ที่ใน 1 ปีมีเพียง 1 - 2 ครั้ง และเป็นฤกษ์ที่ใช้ในการสร้างวัตถุมงคลให้กับพระมหากษัตริย์เท่านั้น ฤกษ์นี้มีประมาณ 18 - 19 นาทีเท่านั้นครับ

    หมายเหตุ 1 ผมไม่ถ่ายรูปพระพิมพ์ลงในเว็บครับ

    หมายเหตุ 2 หากท่านที่มีประสงค์จะร่วมทำบุญ แต่ไม่มั่นใจว่า พระพิมพ์(พระเครื่อง)ที่ผมจะมอบให้เพื่อเป็นพุทธานุสติและเพื่อบูชา เป็นพระพิมพ์(พระเครื่อง)ที่ไม่แท้หรือไม่เป็นที่นิยมของวงการพระเครื่องไทย(การซื้อ-ขาย) ก็ไม่ต้องรับพระพิมพ์(พระเครื่อง)ไปครับ


    ----------------------------------------------


    หมายเหตุ หากท่านที่มีประสงค์จะร่วมทำบุญ แต่ไม่มั่นใจว่า พระพิมพ์(พระเครื่อง)ที่ผมจะมอบให้เพื่อเป็นพุทธานุสติและเพื่อบูชานั้น เป็นพระพิมพ์(พระเครื่อง)ที่ไม่แท้หรือไม่เป็นที่นิยมของวงการพระเครื่องไทย(การซื้อ-ขาย) ก็ไม่ต้องร่วมทำบุญและรับพระพิมพ์(พระเครื่อง)ไป และเป็นพระพิมพ์ที่ไม่สามารถที่จะนำไปซื้อ-ขายในวงการพระเครื่องของเมืองไทยได้

    หมายเหตุ 1 พระวังหน้า ที่ผมนำมามอบให้กับผู้ที่ทำบุญในกระทู้ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ บมจ.ธนาคารกรุงไทย สาขาลาดพร้าว102 บช.ออมทรัพย์เลขที่ 1890-13128-8 ชื่อบัญชี นางพิชญ์สินี ชาญปารีชญา ,นายอุเทน งามศิริ ,นายสิรเชษฏ์ ลีละสุนทเลิศ และผมได้บอกบุญในกระทู้พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้ เป็นพระพิมพ์ที่ไม่สามารถที่จะนำไปซื้อ-ขายในวงการพระเครื่องของเมืองไทยได้

    แต่หากจะนำไปเพื่อเป็นพุทธานุสติ และหรือการห้อยคอเพื่อคุ้มครองตนเอง และหรือการบูชาต่างๆ เพื่อเป็นการบูชาพระคุณองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ ,องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามกุกุกสันโธ ,องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม สมณโคดม ,หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ,สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ( การบูชาพระคุณพระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุธเถระเจ้า ,พระอุปคุตเถระเจ้า เนื่องจากการนำเข้าพิธีพุทธาภิเษกเพิ่มเติม) ,การบูชาพระคุณองค์พระมหากษัตริย์ไทยทุกๆพระองค์ ,พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ,พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ,พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ,พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ,องค์อุปราชวังหน้า รัตนโกสินทร์ทุกๆพระองค์ และทั้งช่างสิบหมู่แห่งวังหน้า ,วังหลวง ,วังหลัง ,ช่างราษฎร์ทุกๆท่านและเทพเทวาทั้ง 16 ชั้นฟ้าและที่อยู่ในองค์พระพิมพ์(พระเครื่อง)ครับ

    ซึ่งเรื่องที่ผมได้บอกนั้น เป็นความเชื่อ ,ความเห็นของผม รวมทั้งคณะของผม ซึ่งก็แล้วแต่ท่านผู้ร่วมทำบุญและท่านผู้อ่านทุกๆท่าน จะมีความคิดเห็นอย่างไร ก็สุดแล้วแต่ครับ

    โมทนาบุญทุกประการกับทุกๆท่านครับ
     
  20. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    มันแน่อยู่แล้ว จะเป็นคำตอบว่า เหตุใดพระอายุเป็นร้อยๆปีทำไมไม่มีคราบกรุ ฝุ่นละออง ทำไมเหมือนกับพระสร้างใหม่ พี่ท่านนี้คงจะได้คำตอบแล้ว ผู้ยังไม่เคยเห็นก็ยังคงสงสัย และงงๆกันต่อไป.. เอาไว้วงการถามหาเมื่อไหร่ วงการตั้งราคาความนิยมเป็นตัวเงิน จะอุทานกับตัวเอง

    อาจารย์จันทร์เพ็ญ ท่านบำเพ็ญบารมีแบบพระโพธิสัตว์ ประวัติท่านน่าสนใจมาก จะได้คุยกับท่านก็เป็นเวลาหลัง ๓ ทุ่มไปแล้ว ช่วงเช้าถึงเย็นมีแต่ช่วยเหลือคน ข้าวปลาอาหารเท่าที่ผมเคยตั้งใจสังเกตท่าน ผมไม่เคยเห็นท่านทานครบ ๓ มื้อเลย เอาเป็นว่า มื้อเดียวไม่ถึง ๓ ช้อนเลย เรื่องปัจตังอื่นๆไม่ขอบอกเล่าครับ ถือว่ามีวาสนาก็ต้องได้พบกัน ใจท่านเข้มแข็งมาก เหนือกว่าชายอกสามศอกมาก เรื่องของครอบครัวท่านสละทิ้งได้เลือกเอาหนทางช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ แทน

    มาที่งานสร้างถนนต่อครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 ตุลาคม 2010

แชร์หน้านี้

Loading...