พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    เห็นท่านปาทานฝากถามตาลุงข้างบ้านผมมาว่า แกมีพระพิมพ์ของกรุ นาดูน มหาสารคาม รึเปล่านำมา โชว์หน่อย แกบ้าจี้ครับ บอกมี พิมพ์ปาฎิหาร์ยครับ เชิญทัศนาครับ หุ หุ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 ธันวาคม 2011
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

    ไม่รู้ว่า มีการสะดุ้งกันบ้างหรือเปล่า
    แต่ไม่เป็นไร ยกครูครับ
     
  3. ake7440

    ake7440 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,528
    ค่าพลัง:
    +405
    งึมๆ ยังต้องพิสูจน์อะไรบางอย่างครับ งานนี้มีลุ้น มีมึนครับ
     
  4. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    เอาใจช่วยครับ...
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    คำถามที่พบบ่อย เมื่อจะซื้อบ้านที่มีฮวงจุ้ยดี

    http://hilight.kapook.com/view/29372

    [​IMG]

    สรุปประเด็นข่าวโดยกระปุกดอทคอม

    "บ้าน คือ วิมานของเรา" แน่นอนว่า ใครๆ ก็อยากจะพักอาศัยในบ้านที่อยู่สบาย ก่อนจะควักเงินก้อนใหญ่เลยต้องพิถีพิถันเลือกสักหน่อย ยิ่งบางคนถือหลักฮวงจุ้ย ดูแล้วดูอีก นั่นก็เพื่อให้เกิดความมั่นใจ ว่าบ้านนั้นจะเกื้อหนุน และเป็นมงคลต่อคนในบ้านนั่นเอง

    แล้วจะเลือกซื้อบ้านอย่างไรให้ถูกหลักฮวงจุ้ยล่ะ ไอรีน ออง ได้ให้สัมภาษณ์ทางวิทยุ NBT Radio Thailand โดยมีข้อแนะนำสำหรับผู้ที่กำลังมองหาบ้านดีๆ อยู่ค่ะ

    [​IMG] สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาในการซื้อบ้านตามหลักฮวงจุ้ย

    ทุกวันนี้คนมักเข้าใจกันว่า จะต้องทำฮวงจุ้ยจากภายในออกไปข้างนอก โดยพยายามปรับให้สภาพแวดล้อมสอดคล้องกับบ้าน ซึ่งเป็นวิธีคิดที่ไม่ถูกต้อง เพราะการพิจารณาฮวงจุ้ยภายในบ้านหรือที่ดินนั้น จะทำขึ้นหลังจากลักษณะสภาพแวดล้อม เช่น ภูเขา แม่น้ำ หรือถนนในเมือง และอาคารต่างๆ ที่ล้อมรอบบ้าน หรือที่ดิน ได้รับการพิจารณาแล้ว คุณภาพของที่ดินที่ดี ขึ้นอยู่กับคุณภาพของสภาพแวดล้อมภายนอก และพลังชี่ที่ที่ดินนั้นๆ จะได้รับ​

    ส่วนฮวงจุ้ยภายในนั้น จะใช้เพื่อควบคุมวิธีที่พลังชี่ไหลเข้ามาในที่ดิน ตลอดจนการจัดวางรูปแบบ การหมุนเวียนของพลังชี่ และการนำมาใช้ประโยชน์ในบ้าน พลังชี่ก็เปรียบเสมือนแก่น หรือกระดูกสันหลังของฮวงจุ้ย ต้องมีการคำนวณ ตรวจสอบพลังชี่ทั้งภายในและภายนอกบ้าน และนำหลักการมาประยุกต์ใช้ นี่เป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้ให้คำปรึกษาด้านฮวงจุ้ยที่เป็นมืออาชีพ​

    [​IMG] ห้องต่างๆ ในบ้านสามารถช่วยให้เกิดฮวงจุ้ยที่ดีได้

    ไม่ว่าจะห้องไหน หากในห้องนั้นมีพลังชี่ที่ดี ก็ช่วยส่งเสริมฮวงจุ้ยของบ้าน แต่ถ้าเกิดมีพลังชี่ที่ไม่ดี ก็ต้องลองหาห้องอื่นที่มีพลังงานที่ดีกว่า ไม่เช่นนั้นก็ต้องหาวิธีปรับปรุง และพยายามสร้างทางหมุนเวียนของพลังชี่ที่ดีภายในบ้าน เพื่อที่พลังชี่นั้นจะได้เอื้อประโยชน์และเกื้อหนุนคนในบ้านได้​

    แต่สำหรับเครื่องเรือน เครื่องใช้ไฟฟ้า ของตกแต่งต่างๆ ไม่ได้เกี่ยวข้องกับฮวงจุ้ย แต่สิ่งเหล่านี้ก็จะสามารถมาช่วยเสริม หรือ ข่มพลังงานบางประเภทในบางบริเวณของบ้าน​

    [​IMG] เคล็ดลับฮวงจุ้ยในปีนี้

    เพื่อความปลอดภัย และสุขภาพที่ดีของทุกคนในครอบครัว ให้รักษาความเงียบบริเวณทิศใต้ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ อย่าเปิดไฟสว่างๆ หรือไฟสีแดง หรือสิ่งใดก็ตามที่เป็นสีแดงไว้ในส่วนนี้ของบ้านในปีนี้ และจะต้องไม่ขุด ตัดต้นไม้ หรือเคาะในบริเวณทิศใต้ และส่วนทิศเหนือในปีนี้ จนถึงเดือนมกราคม พ.ศ.2552​

    [​IMG] ข้อแนะนำสำหรับคนจะซื้อที่ดิน

    ก่อนจะเลือกซื้อที่ดิน จะดีที่สุดถ้ามีการคัดกรองที่ดินที่จะซื้อเสียก่อน นั่นคือ อาจต้องจ่ายเงินเพื่อปรับปรุงฮวงจุ้ยตั้งแต่แรก ดีกว่าที่ต้องมาจ่ายเงินเพื่อแก้ตรงบริเวณที่ไม่ดี แถมยังต้องมาจ่ายเพิ่มเพื่อปรับฮวงจุ้ยอีกต่างหาก ดังนั้นหากจะลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น การปรับปรุงฮวงจุ้ยแก้ไขก่อนแต่แรกจะช่วยลดความยุ่งยากไปได้มาก​

    เมื่ออ่านข้อแนะนำดีๆ แล้ว คงจะคลายข้อสงสัยเกี่ยวกับการเลือกซื้อบ้านให้ถูกตามหลักฮวงจุ้ยได้แล้วนะคะ




    ขอขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก โพสต์ทูเดย์
    [​IMG]
    โดย : มิสไอรีน ​
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เตือน! 15 จังหวัด ระวังท่วมฉับพลัน - น้ำป่าไหลหลาก

    http://hilight.kapook.com/view/29363


    [​IMG]


    กรมอุตุฯ ระบุประเทศไทยมีฝนตกชุกหนาแน่น และมีฝนตกหนักหลายพื้นที่ โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้

    กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์อากาศประจำวันจันทร์ที่ 29 กันยายน 2551 เมื่อเวลา 04:00 น. ว่า ร่องความกดอากาศต่ำกำลังค่อนข้างแรงพาดผ่านภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือเข้าสู่พายุดีเปรสชันในทะเลจีนใต้ตอนบน ลักษณะเช่นนี้จะทำให้บริเวณประเทศไทยมีฝนตกชุกหนาแน่น และมีฝนตกหนักหลายพื้นที่โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้

    ในช่วงวันที่ 29 ก.ย.- 1 ต.ค. 2551 ขอให้ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัย บริเวณที่ลาดเชิงเขาและใกล้ทางน้ำไหลผ่าน บริเวณจังหวัดน่าน พิจิตร อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี ลพบุรี นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว จันทบุรี ตราด ระนอง และพังงา ระวังอันตรายจากสภาวะฝนตกหนักที่อาจทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลากที่อาจเกิดขึ้นได้อีกในระยะ 2-3 วันนี้

    สำหรับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน และอ่าวไทยมีกำลังค่อนข้างแรง ทำให้คลื่นลมในทะเลสูงมากกว่า 2 เมตร โดยเฉพาะในบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง ขอให้ชาวเรือระมัดระวังอันตรายในการเดินเรือ และเรือเล็กที่เดินเรือในอ่าวไทยควรงดออกจากฝั่งในช่วงวันที่ 29 ก.ย.
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ช็อก!!ส.ส.มะกันโหวตล้มแผนกู้7แสนล้าน-ฉุดหุ้นดิ่ง600จุด
    http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9510000115592
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>30 กันยายน 2551 03:12 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>บรรยากาศสับสนในตลาดหุ้นสหรัฐฯ</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>เอเอฟพี - สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฯเมื่อวันจันทร์(29) โหวตล้มแผนซื้อหนี้เสียจากธนาคารมูลค่า 700,000 ล้านดอลลาร์ เพื่อกอบกู้ช่วยชีวิตระบบการเงินวอลล์สตรีท โยนความพยายามสยบวิกฤตทางการเงินของอเมริกาเข้าสู่ความยุ่งเหยิง

    ผลคะแนนโหวต 228-205 เสียง ทำให้ร่างกฏหมายฉบับนี้ตกไป หลังจาก ส.ส.รีพับลิกันส่วนมากเพิกเฉยต่อคำร้องขอของผู้นำของเขาเองและโหวตต่อต้าน ขณะที่ ส.ส.ส่วนใหญ่ของเดโมแครตกลับโหวตเห็นชอบกับแผนดังกล่าว

    หุ้นในตลาดวอลล์สตรีท ร่วงลงมา 700 จุด ขณะที่ร่างกฎหมายส่อแววว่าอาจถูกปฏิเสธ และจากนั้นได้ฟื้นตัวกลับมาราว 200 จุดหลังจากการลงมติสิ้นสุดลง ก่อนปิดตลาดลดลง 603 จุดหรือ 5.42 เปอร์เซ็นต์

    ด้านดัชนีเฉลี่ยอุตสาหกรรมดาวน์โจนส์ ร่วงลง 6.92 เปอร์เซนต์หรือ 777.68 จุด ปิดที่ 10,365.45 จุด นับเป็นการร่วงภายในวันเดียวแรงที่สุดตลอดกาล หลังเคยดิ่ง 684 จุดเมื่อวันที่ 17 กันยายน ขานรับเหตุโจมตี 9/11

    ยังไม่เป็นที่ชัดเจนว่าก้าวย่างของวิกฤตนี้จะเป็นไปในทิศทางใด หรือแกนนำพรรคเดโมแครตกับรีพับลิกันจะสามารถเปลี่ยนมุมมองของ ส.ส.ผ่านการลงมติครั้งที่ 2 อย่างไรก็ตามสถานการณ์ยิ่งยุ่งยากขึ้นไปอีก เนื่องจากเป็นวันเริ่มต้นเทศกาลสำคัญชาวยิวซึ่งเริ่มต้นช่วงพระอาทิตย์ตกในวันจันทร์(29) หมายถึงว่า ส.ส.จำนวนมาก เตรียมเดินทางกลับไปยังถิ่นฐานของพวกเขา

    ก่อนหน้านี้สภานิติบัญญัติสหรัฐฯ บรรลุร่างกฎหมายที่จัดสรรเงิน 250,000 ล้านดอลลาร์ให้รัฐบาล เพื่อซื้อหนี้เสียจากกองทุนเงินบำนาญ รัฐบาลท้องถิ่น และธนาคารเล็กๆ ที่ให้บริการแก่ครอบครัวรายได้ต่ำ และยังให้อำนาจประธานาธิบดีอนุมัติเงินได้อีก 100,000 ล้านดอลลาร์

    ร่างกฎหมายนี้ได้ให้อำนาจรัฐสภามีสิทธิยับยั้งการซื้อเกินวงเงินกำหนด และกำหนดเพดานการซื้อสูงสุดไว้ที่ 700,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยกระทรวงการคลังจะเป็นผู้ใช้แผนนี้ภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการ ซึ่งรวมทั้งประธานธนาคารกลางสหรัฐฯ หรือเฟด รัฐมนตรีคลัง และคณะกรรมการกำกับดูแลตลาดหลักทรัพย์สหรัฐฯ

    ในการอภิปรายอย่างเผ็ดร้อนก่อนสภาผู้แทนฯจะลงมติ ได้มีการตำหนิรัฐบาลของประธานาธิบดีบุช ที่ออกมาขู่ว่าระบบการเงินของอเมริกาอาจล่มสลายหากสภาไม่ผ่านร่างกฎหมายนี้

    ไมค์ เพนซ์ ส.ส.จากอินดีแอนา เตือนว่าแผนซื้อหนี้เสียจากธนาคารสวนทางกับหลักการของรัฐบาลสหรัฐฯ "เสรีภาพทางเศรษฐกิจหมายความได้ทั้งเสรีภาพที่ประสบความสำเร็จและเสรีภาพอันล้มเหลว" เพนซ์พาดพิงถึงกรณีการใช้อำนาจและทรัพย์สินของรัฐบาลเข้าแทรกแซงตลาดเสรีด้วยการซื้อหนี้เสีย

    ด้าน ลีนน์ วูลซีย์ ส.ส.จากเดโมแครต หนึ่งในผู้โหวตต้าน แสดงความข้องใจว่าทำไมผู้เสียภาษีต้องถูกร้องขอให้จ่ายเงินสำหรับความไร้ความรับผิดชอบของบริษัทการเงินชั้นนำของอเมริกา "ทำไมวอลล์สตรีทไม่จ่ายเงินสำหรับความยุ่งเหยิงที่พวกเขาสร้างขึ้นมาเอง"

    อย่างไรก็ตามประธานาธิบดีบุชประกาศจะเดินหน้าต่อไปในความพยายามแก้ปัญหาวิกฤตในระบบการเงินสหรัฐฯ หลังจากสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฯสร้างความผิดหวังและแปลกใจ คว่ำแพกเกจกอบกู้เศรษฐกิจนี้

    นางแนนซี่ เปโรซี่ ประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฯ ซึ่งสังกัดพรรคเดโมแครต ประกาศว่ารับไม่ได้ที่สภาปฏิเสธแพกเกจนี้ และจะเดินหน้าผลักดันต่อไปเพื่อให้ผ่านสภาคองเกรสในที่สุด

    ขณะที่บารัค โอบามา ตัวแทนพรรคเดโมแครตไปชิงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐฯ กล่าวแสดงความเชื่อมั่นในระหว่างการหาเสียงที่รัฐโคโลราโด ว่า แพกเกจนี้จะผ่านการรับรองได้ในที่สุด เพราะผู้นำพรรครีพับลิกันและเดโมแครตต่างเห็นพ้องให้สนับสนุน แต่สมาชิกบางส่วนของพรรคยังไม่ยอมรับ ขณะที่จอห์น แมคเคน ของรีพับลิกันเรียกร้องให้สภาคองเกรสเร่งผลักดันในเรื่องนี้โดยเร็ว
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    --------------------------------------

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>น้ำมันดิ่งกว่า$10!!ผวาปัญหาเศรษฐกิจสหรัฐฯหลังแผนกู้ไม่ผ่านสภาฯ
    http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9510000115601
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>30 กันยายน 2551 05:21 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=right border=0><TBODY><TR><TD width=5>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=300 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> เอเจนซี - ราคาน้ำมันดิ่งลงเกือบ 10 เปอร์เซ็นต์หรือกว่า 10 ดอลลาร์ต่อบาร์เรลเมื่อวันจันทร์(29) หลังจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฯ ปฏิเสธแผนกอบกู้ภาคเงิน 700 ล้านดอลลาร์ที่เสนอโดยรัฐบาลประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู.บุช

    สัญญาล่วงหน้าน้ำมันชนิดไลต์สวีตครูด ของสหรัฐฯ งวดส่งมอบเดือนพฤศจิกายน ดิ่งลง 10.52 ดอลลาร์ปิดที่ 96.37 ดอลลาร์ต่อบาร์เรล หลังร่วงลงไปต่ำสุดระหว่างวันที่ 95.04 ดอลลาร์ ซึ่งถือเป็นสถิติร่วงแรงที่สุดในรอบวันเป็นอันดับ 2 นับตั้งแต่วันที่ 23 เมษายนปี 2003

    ทั้งนี้น้ำมันชนิดไลต์สวีตครูด ตกลงมา 11.8 เปอร์เซนต์จากวันอังคารที่แล้ว(16) ซึ่งมันทะยานขึ้นไปในช่วงของการสิ้นสุดสัญญาซื้อขายเดือนตุลาคม ส่วนน้ำมันดิบเบรนต์ของตลาดลอนดอนวันจันทร์(29) งวดส่งมอบเดือนพฤศจิกายน ดิ่งลง 9.56 ดอลลาร์ ปิดที่ 93.98 ดอลลาร์ต่อบาร์เรล

    สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฯ ลงมติ 228-205 ปฏิเสธร่างกฎหมายฟื้นฟูเศรษฐกิจ ซึ่งให้อำนาจกับกระทรวงการคลังซื้อหนี้เสียจากกองทุนเงินบำนาญ รัฐบาลท้องถิ่น และธนาคารเล็กๆ ที่ให้บริการแก่ครอบครัวรายได้ต่ำ โดยมีเป้าหมายติดเครื่องตลาดเงินทุนที่สะดุดอีกครั้ง

    "ร่างกฎหมายที่จัดสรรเงินซื้อหนี้เสียไม่ผ่านมติ ส่งให้ตลาดหุ้นหกคะเมน เช่นเดียวกับถ่วงตลาดน้ำมัน" ทอม เบนท์ซ นักวิเคราะห์จากบีเอ็นพี พาริบาส กล่าว

    "การตัดสินใจครั้งนี้สร้างความรู้สึกช็อกให้กับระบบ" ซาราห์ อีเมอร์สัน ผู้อำนวยการของEnergy Security Analysis Inc กล่าว "ตลาดน้ำมันขานรับอย่างรุนแรง ส่วนหนึ่งมาจากมันแสดงนัยว่าเศรษฐกิจที่อ่อนแอกระทบต่อดีมานด์น้ำมันที่ลดลง"
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  8. Phocharoen

    Phocharoen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    109
    ค่าพลัง:
    +225
    เรียนเพื่อนๆ สมาชิกทุกท่านทราบ
    ผมได้อ่านประวัติศาสตร์ เกี่ยวกับ รศ เปลี่ยนมาเป็น พ.ศ. ดังนี้ คือ
    มีการประกาศเปลี่ยน จาก จุลศักราช มาเป็น ร.ศ. เมื่อ พ.ศ. 2325 เริ่ม วันที่ 1 เมษายน ตรงกับ ร.ศ. 108 เลขที่ 22 และ เปลี่ยน จาก ร.ศ. มาเป็น พ.ศ. เมื่อ ปี
    พ.ศ. 2456 ผิดพาดประการใด ช่วย แจ้งผมด้วย
    ซึ่งเรื่องนี้เกี่ยวโยงกับ พระพิมพ์ต่างๆเป็นอย่างมาก ตัวผมเองก็หาข้อสรุปให้ตนเองไม่ได้ ถ้าเอาประวัติดังกล่าวนี้มาอ้างอิง ท่านผู้ใดมีข้อมูลที่ชัดเจนกรุณาลง เพื่อเป็น ความรู้แก้ สมาชิกทุกท่านด้วยจะเป็นพระคุณยิ่ง
     
  9. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ผมจำได้ว่าท่านปาทานเคยลงให้ดูแล้วนี่ครับ ลองกลับไปอ่านหน้าเก่าๆลองหาดูครับ ...
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สำหรับท่านที่ไม่ได้เข้าไปในpalungjit.org Official ผมนำมาฝากกัน

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR vAlign=bottom><TD></TD><TD width="100%">PaLungJit.com > palungjit.org Official</TD></TR></TBODY></TABLE>
    Personal Notepad ไว้สำหรับจดบันทึกอะไรต่างๆ ส่วนตัว

    <TABLE class=tborder id=post1532889 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">27-09-2008, 12:47 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#1 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>[​IMG] WebSnow<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1532889", true); </SCRIPT>
    เว็บมาสเตอร์ (วีระชัย)

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Apr 2003
    สถานที่: London, England
    อายุ: 33
    ข้อความ: 6,405
    ได้ให้อนุโมทนา: 1,599
    ได้รับอนุโมทนา 45,904 ครั้ง ใน 4,242 โพส
    พลังการให้คะแนน: 50000 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]



    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1532889 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- icon and title -->Personal Notepad ไว้สำหรับจดบันทึกอะไรต่างๆ ส่วนตัว

    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->ได้เพิ่มส่งใหม่เข้ามา

    คือ Personal Notepad
    ไว้สำหรับจดบันทึกอะไรต่างๆ ส่วนตัว

    เข้าไปดูได้ที่ แผงควบคุมส่วนตัว
    http://palungjit.org/usercp.php


    [​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    -----------------------------------------------


    และมี ห้องเทคนิค ลองเข้าไปอ่านกันดู ผมเองก็จะเข้าไปอ่านดูเช่นกัน

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR vAlign=bottom><TD>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width="100%">PaLungJit.com > palungjit.org Official > ประกาศจาก เว็บพลังจิต </TD></TR><TR><TD class=navbar style="FONT-SIZE: 10pt; PADDING-TOP: 1px" colSpan=3>[​IMG] ห้องเทคนิค

    http://palungjit.org/forumdisplay.php?f=34

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. ake7440

    ake7440 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,528
    ค่าพลัง:
    +405
    พี่หนุ่มครับ ผมหาของที่หายเจอแล้วครับ หลังจากที่พี่โทรหาแล้วให้ทำ....
    ผมก็คิดว่ารู้สึกว้าวุ่นขนาดนี้ จะไปทำได้อย่างไร จึงตัดสินในนั่งสมาธิ เพ่งกสิณลมที่ทำประจำ
    แล้วพอจิตสงบก็ทำ...ผลปรากฏว่า หลังจากออกจากสมาธิก็ลุกไปอาบน้ำแล้วในหัวก็มีลำดับเหตุการณ์แล่นเข้ามาทำให้ผมนึกออกว่าอยู่ที่ใดครับ เช้านี้ผมก็ไปเก็บกลับมาเรียบร้อยครับ ไม่น่าเชื่อเพราะผมไปยังสถานที่นี้มารอบหนึ่งแล้วแต่หาไม่เจอครับ
    ขอบคุณพี่หนุ่มสำหรับคำแนะนำดีๆเสมอๆครับ
     
  12. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    มีบางท่านไปตามเก็บ....ในวันทำงาน ระวังนะครับ เดี๋ยวเจอข้อหา เก็บแล้วทำให้เกิดขาดแคลนอีกท่าน หุ หุ (เก็บตามแค็ทล็อกแล้ว อย่าลืมมาแบ่งกันบ้างนะคร๊าบ)
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ร่วมด้วยช่วยกันครับ
    โมทนาสาธุครับ
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    การนับเวลาทางประวัติศาสตร์
    http://www.pramot.com/stuweb/m4_249/dee/home.htm

    [​IMG]การนับเวลาและการแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร[​IMG]
    ประวัติศาสตร์ คือ การศึกษาเรื่องราวต่างๆ ในอดีตโดยมีความสัมพันธ์ก่อให้เกิดความง่ายต่อการทำความเข้าใจในเหตุการณ์ต่างๆ โดยมีระยะเวลาเป็นตัวกำหนดในการศึกษาเรื่องราว
    [​IMG]การนับเวลาและการเปรียบเทียบศักราช
    ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ มักนิยมใช้การระบุช่วงเวลาเพื่อให้ทราบถึงเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น โดยจะแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การนับเวลาแบบไทย และการนับเวลาแบบสากล
    [​IMG]การนับเวลาแบบไทย
    ในประวัติศาสตร์ไทย จะมีการบันทึกเรื่องราวต่างๆ โดยมีการอ้างอิงถึงการนับช่วงเวลาแตกต่างกันไป ตามแต่ละท้องถิ่นมีดังนี้
    1.พุทธศักราช(พ.ศ.)
    เป็นการนับเวลาทางศักราชในกลุ่มผู้นับถือพระพุทธศาสนา โโยเริ่มนับตั้งแต่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน ให้นับเป็นพุทธศักราชที่1 ทั้งนี้ประเทศไทยจะนิยมใช้การนับเวลาแบบนี้ โดยเริ่มใช้ตั้งแต่ครั้งสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จนมาเป็ฯที่แพร่หลายและระบุใช้กันอย่างเป็นทางการในสมัยพระบาท สมเด็จพระมงกฎเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 6) ในปีพุทธศักราช 2455
    2. มหาศักราช(ม.ศ.) การนับศักราชนี้จะพบในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยสุโขทัย และอยุธยาตอนต้นโดยคิดขึ้นจากกษัตริย์ของอินเดีย (พระเจ้ากนิษกะ) ซึ่งพ่อค้าอินเดียและพวกพราหมณ์นำเข้ามาเผยแพร่ในเวลาติดต่อการค้ากับไทยในสมัยโบราณ จะมีปรากฎในศิลาจาลึกเพื่อบันทึกเรื่องราวเหตุกาณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งถือว่าปีมหาศักราชที่1 จะตรงกับปีพุทธศักราช 621
    3.จุลศักราช ( จ.ศ.)
    จัดตั้งขึ้นโดยสังฆราชมนุโสรหัน แห่งอาณาจักรพุกาม เมื่อปีพุทธศักราช 1181โดยไทยรับเอาวิธ๊การนับเวลานี้มาใช้ในสมัยอยุธยา เพื่อการคำนวณทาง โหราศาสตร์ ใช้บอกเวลาในจารึก ตานาน พระราชพงศาวดาร จดหมายเหตุ ต่างๆ จนมาถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่5 ) จึงเลิกใช
    4.รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ) การนับเวลาแบบนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่5)ทรงตั้งขึ้น
    ในปีพุทธศักราช2432
    โดยกำหนดให้กำหนดให้นับปีที่พระบาทสมเด็จพระพุทะยอดฟ้าจฬาโลกมหาราช สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อปีพุทธศักราช 2325 เป็นรัตนโกสินทร์ศกที่1 และให้เริ่มใช้ศักราชนี้ในทางราชการตั้งแต่วันที่1 เมษายน ร.ศ.108 (พ.ศ.2432) เป็นต้นมา
    [​IMG]การนับเวลาแบบสากล
    1. คริสต์ศักราช (ค.ศ. )
    เป็นการนับเวลาทางศักราชของผู้นับถือศาสนาคริสต์ ซึ่งถือเป็นการนับเวลาที่นิยมใช้กันมาทั่วโลก โดยคริสต์ศักราชที่1 เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระเยซูคริสต์ประสูต(ตรงกับ พ.ศ.543)และถือระยะเวลาที่อยู่ก่อนคริสต์ศักราชลงไป จะเรียกว่าสมัยก่อนคริสต์ศักราชหรือก่อนคริสต์กาล
    2. ฮิจเราะห์ศักราช (ฮ.ศ.) เป็นการนับเวลาทางศักราชของผู้นับถือศาสนาอิสลามโดยอาศัยปีที่
    ท่านนบีมูฮัมหมัดได้อพยพจากเมืองเมกกะไปยังเมืองมาดินา เป็นปีเริ่มต้นของศักราชอิสลามซึ่งตรงกับวันที่ 6 กรกฏาคม ค.ศ. 622
    อย่างไรก็ตาม การนับศักราชแบบต่างๆ ในบางครั้งบางเหตุการณ์ก็ไม่ได้ระบุความชัดเจนไว้ แต่อาจกล่าวการนับเวลาอย่างกว้างๆ ไว้ ซึ่งนิยมเรียกกันใน 3 รูปแบบ ดังนี้
    [​IMG]ทศวรรษ (decade) คือ รอบ 10 ปี นับจากศักราชที่ลงท้ายด้วย 1 ไปจนถึงศักราชที่ลงท้ายด้วย 0 เช่น ทศวรรษที่ 1990 ตามคริสต์ศักราช หมายถึง ค.ศ.1991-2000
    [​IMG]ศตวรรษ (century) คือ รอบ 100ปี นับจากศักราชที่ลงท้าย 1 ไปจนครบ 100ปีในศักราชที่ลงท้สยด้วย00 เช่น พุทธศตวรรษที่26 คือ พ.ศ.2501-2600
    [​IMG]สหัสวรรษ (millenium) คือ รอบ 1000 ปี ศักราชที่ครบแต่ละสหัสวรรษจะลงท้ายด้วย000 เช่น สหัสวรรษที่ 2 นับตามพุทธศักราช คือ พ.ศ. 1001-2000
    หลักเกณฑ์การเรียบเทียบศักราชในระบบต่างๆ
    การนับศักราชที่แตกต่างกัน จะทำให้เกิดความสับสนและไม่ชัดเจนในการศึกษาเรื่องราวประวัติศาสตร์ ดั้งนั้น การเปรียบเทียบศักราชให้เป็นแบบเดียวกัน จะช่วยให้สามารถศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ได้เข้าใจมากขึ้น รวมทั้งทำให้ทราบว่าในช่วงศักราช หรือช่วงเวลาเดียวกันในแต่ละภาคของโลก เกิดเหตุการณณ์ สำคัญๆ ทางประวัติศาสตร์ อะไรบ้าง ซึ่งการเปรียบเทียบศักราชสามารถกระทำได้ง่ายๆ โดยนำตัวเลขผลต่าง ของอายุศักราชแต่ศักราชมาบวกหรือลบกับศักราชที่เราต้องการตามหลักเกณฑ์ดังนี้
    <TABLE borderColor=#ff5f55 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600 align=center bgColor=#ffccff border=3><TBODY><TR bgColor=#ffbfff><TH class=style70 scope=row width=235>ม.ศ.+621=พ.ศ.

    </TH><TD width=245>พ.ศ.-621=ม.ศ.</TD></TR><TR bgColor=#ffbfff><TH class=style72 scope=row>
    จ.ศ.+1181=พ.ศ.​


    </TH><TD>พ.ศ.-1181=จ.ศ.</TD></TR><TR bgColor=#ffbfff><TH class=style74 scope=row>
    ร.ศ.+2325=พ.ศ.​


    </TH><TD>พ.ศ.-2325=ร.ศ.</TD></TR><TR bgColor=#ffbfff><TH class=style76 scope=row>
    ค.ศ.+543=พ.ศ.​


    </TH><TD>พ.ศ.-543=ค.ศ.</TD></TR><TR bgColor=#ffbfff><TH class=style78 scope=row>
    ฮ.ศ.+621=ค.ศ​


    </TH><TD>ค.ศ.-621=ฮ.ศ.</TD></TR><TR bgColor=#ffbfff><TH class=style80 scope=row>
    ฮ.ศ.+1164=พ.ศ.​


    </TH><TD>พ.ศ.-1164=ฮ.ศ.</TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ศักราช
    http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/ศักราช

    ศักราช ช่วงเวลาที่จัดตั้งขึ้นตามการอ้างอิงของช่วงเวลานั้น โดยแบ่งได้ตามการอ้างอิงหรือการเรียก



    <TABLE class=toc id=toc summary=สารบัญ><TBODY><TR><TD>สารบัญ

    [ซ่อนสารบัญ]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript> if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดงสารบัญ"; var tocHideText = "ซ่อนสารบัญ"; showTocToggle(); } </SCRIPT>
    [แก้ไข] ความหมายของศักราช

    ศักราช หมายถึง ปีที่กำหนดเอาเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งซึ่งสำคัญมาก สำหรับจดจารึกไว้ ศักราชที่กำหนดไว้ มี พุทธศักราช รัตนโกสินทร์ศักราช (รัตนโกสินทร์ศก) จุลศักราช และคริสต์ศักราช ศักราชเหล่านี้เริ่มต้นนับแตกต่างกัน จึงต้องมีการเทียบศักราช
    [แก้ไข] ความเป็นมาของศักราช

    หนังสือไทยโบราณทั้งหลาย เช่น หนังสือพงศาวดาร ประกาศกฏหมายเก่า หรือ ตำราต่างๆ ฯลฯ มักลงศักราช ไว้ต่างๆ กัน สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เมื่อจะลงศักราชบอกเวลาเป็นปี นิยมใช้ "จุลศักราช" หนังสือที่ตึพิมพ์ตั้งแต่พุทธศักราช 2431 หรือในตอนกลางรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เช่น หนังสือราชการ ตำราและ แบบเรียน ฯลฯ ใช้ " รัตนโกสินทรศก " แทน "จุลศักราช" ทั้งสิ้น แต่การลงศักราชเป็น"รัตนโกสินทรศก" นั้น กระทำอยู่ได้ไม่นานนัก เพราะปรากฏว่าตั้งแต่พุทธศักราช 2455 เป็นต้นมา หนังสือราชการและสิ่งพิมพ์ต่างๆ หันมาใช้ "พุทธศักราช" แทน "รัตนโกสินทรศก" ตราบจนทุกวันนี้ ประโยชน์ของการเปรียบเทียบศักราชเป็นสิ่งควรจำสำหรับใช้ประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าตำราเก่า
    [แก้ไข] ศักราชตามชื่อเรียก

    [แก้ไข] พุทธศักราช (พ.ศ.)

    ประเทศไทยเริ่มใช้พุทธศักราชในหมู่พระสงฆ์ ก่อนที่รัชกาล 6 จะเกล้าให้นำมาใช้แทน ร.ศ. ปีพุทธศักราชของไทย ถือกำเนิดโดยให้วันปรินิพพานเป็นปี พ.ศ. 0 แต่ ศรีลังกา พม่า ลาว และเขมร นับมากกว่าเรา 1 ปี คือนับเอาวันปรินิพพานเป็นปีที่ 1 ในปัจจุบันมีค้นพบว่าพุทธศักราช มีความคลาดเคลื่อนไปจากความเข้าใจข้างต้น 60 ปี นั่นคือ เขาเชื่อกันว่า พระพุทธเจ้าปรินิพพานปี พ.ศ. 60 มิใช่ พ.ศ. 0
    พุทธศักราชและคริสต์ศักราช
    ในสมัยก่อน ปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินสุริยคติสากล นับเดือนที่เปลี่ยนศักราชไม่เหมือนกัน กล่าวคือ ไทยจะเปลี่ยนศักราชในวันที่ 1 เมษายน ในขณะที่สากลจะเปลี่ยนในวันที่ 1 มกราคม ทำให้พุทธศักราชและคริสต์ศักราชคาบเกี่ยวกัน โดยที่สามเดือนแรกในคริสต์ศักราช (มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม) จะตรงกับพุทธศักราชก่อนหน้า เช่น ค.ศ. 1900 สามเดือนแรกจะตรงกับ พ.ศ. 2442 และเดือนอื่นๆ จะตรงกับ พ.ศ. 2443
    ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ประกาศเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่ไปเป็น 1 มกราคม ให้เทียบเท่ากับสากล โดยเริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2484 เป็นต้นไป จึงทำให้ พ.ศ. 2483 เหลือเพียงแค่ 9 เดือน (เมษายน - ธันวาคม)
    [แก้ไข] คริสตศักราช (ค.ศ.)

    เริ่มนับเอาตั้งแต่ปีที่พระเยซูคริสต์เกิดเป็น ค.ศ. 1 ซึ่งเวลานั้น พ.ศ. มีมาแล้วนับได้ 543 ปี ดังนั้นวันคริสตมาสในปี 2001 จึงครบรอบวันประสูติ 2000 ปี โดยมีวันที่ 1 มกราคมของทุกปี เป็นวันขึ้นปีใหม่
    การหาว่าวันปีใหม่เป็นวันอะไร

    หากต้องการทราบว่าวันขึ้นปีใหม่ตรงกับวันอะไร คำนวณได้ด้วยการเอาปี ค.ศ. ทีต้องการมาลบด้วย 1 แล้วหารด้วย 28 หากเหลือเศษ
    • 1, 7, 18, 24 เป็น อาทิตย์
    • 2, 8, 13, 19 เป็น จันทร์
    • 3, 14, 20, 25 เป็น อังคาร
    • 4, 9, 15, 26 เป็น พุธ
    • 5, 11, 22, 0 เป็น ศุกร์
    • 6, 12, 17, 23 เป็น เสาร์
    พุทธศักราชและคริสต์ศักราช
    หากต้องการทราบว่า พ.ศ. หนึ่งเป็น ค.ศ. ใดให้เอา 543 มาลบจาก พ.ศ. ก็จะเป็น ค.ศ. ในตรงกันข้ามหากต้องการทราบว่า ค.ศ. หนึ่งเป็น พ.ศ. ใดให้เอา 543 มาบวก
    [แก้ไข] มหาศักราช (ม.ศ.)

    หรือที่ชาวอินเดียเรียกว่า ศกาพทะ หรือ ศาลิวาหนกาล แปลว่า ปีของชาวศกะ (Scythian) เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระเจ้าศาลิวาหนะ หรือบางตำนานเรียกว่า พระเจ้ากนิษกะ แห่งศกราชวงศ์ ทรงมีชัยชนะเหนือแคว้นโดยรอบ เป็นมหาศักราชที่ 1 มีวิธีการนับวันเดือนปีจะเป็นไปตามสุริยคติ โดยวันขึ้นปีใหม่ วันที่ 1 เมษายนของทุกปี เกิดก่อนพุทธศักราช 621 ปี
    [แก้ไข] จุลศักราช (จ.ศ.)

    เป็นการนับเดือนปีเป็นแบบทางจันทรคติ เริ่มนับ จ.ศ. 1 เมื่อปี พ.ศ. 1182 โดยนับเอาวันที่พระบุพโสระหัน สึกออกจากการเป็นพระมาเพื่อชิงราชบัลลังก์เป็นวันแรกของศักราช ในสมัยโบราณถือตามสุริยคติ (คัมภีร์สุริยยาตร) ใช้วันเถลิงศก (ปัจจุบันตกราว 16 เมษายน) เป็นวันปีใหม่ แต่ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ โปรดเกล้าให้ถือตามจันทรคติ คือใช้วันแรม 15 ค่ำ เดือน 4 ของทุกปีเป็นวันสิ้นปี
    ในเอกสารโบราณของไทยจำนวนไม่น้อย นิยมอ้างเวลา โดยใช้จุลศักราช โดยใช้ควบคู่กับปีนักษัตร หรือ ระบุเฉพาะเลขตัวท้ายของจุลศักราช และปีนักษัตร ทำให้สามารถระบุปี ได้ในช่วงกว้างถึงรอบละ 60 ปีเลยทีเดียว
    การเรียกศกตามเลขท้ายปี

    ในระบบการเรียกศกตามเลขท้ายปีจุลศักราช นิยมเรียกด้วยศัพท์บาลี ดังนี้
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 1 เรียก "เอกศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 2 เรียก "โทศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 3 เรียก "ตรีศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 4 เรียก "จัตวาศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 5 เรียก "เบญจศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 6 เรียก "ฉศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 7 เรียก "สัปตศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 8 เรียก "อัฐศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 9 เรียก "นพศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 0 เรียก "สัมฤทธิศก"
    [แก้ไข] รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.)

    เริ่มใช้ในสมัยรัชกาลที่ 5 ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2432 เป็นวันที่ 1 เมษายน ร.ศ. 108 โดยถือเอาปีที่ตั้งกรุงเทพฯ เป็นเมืองหลวง เป็นปีรัตนโกสินทร์ศกที่ 1 และใช้อยู่จนถึง ร.ศ. 131 เป็น ร.ศ. สุดท้าย หรือเพียง 23 ปี ก็เลิกใช้ไป เพราะเห็นว่าไม่สะดวกในการอ้างอิงปีในประวัติศาสตร์ เช่น กล่าวว่า ไทยเสียกรุงครั้งที่ 2 ในปีที่ 15 ก่อน ร.ศ. เป็นต้น
    [แก้ไข] กลียุคศักราช หรือกลียุคกาล (ก.ศ.)

    เป็นศักราชจากชมพูทวีป และเป็นศักราชที่เก่าที่สุดที่ปรากฏในบันทึกของไทย เกิดก่อนพุทธศักราชถึง 2558ปี
    [แก้ไข] วิกรมาทิตย์ศักราช (ว.ศ.)

    หรือวิกรมสังวัตเป็นศักราชจากชมพูทวีป แต่ไม่มีปรากฏในบันทึกของไทย เกิดหลังพุทธศักราช 486 ปี
    [แก้ไข] ศักราชพระเจ้าเหลือง (ล.ศ.)

    เป็นศักราชที่ถือกำเกิดโดยพระเจ้าเหลืองมหาราช ของดินแดนที่เป็นประเทศจีนในปัจจุบัน เกิดก่อนพุทธศักราช 2154 ปี ในปัจจุบันมีข้อถกเถียงว่า ตัวเลขของศักราชนี้อาจมีค่ามากเกินไป 60 ปี เช่นเดียวกับ พ.ศ. และหรืออาจนับเอา ล.ศ. 0 เป็นปีตั้งศักราชด้วยก็ได้

    *** ศักราชทุกชนิดไม่มีศักราช 0 เช่นก่อนค.ศ. 1 คือ 1 ปีก่อนคริสตกาล เป็นต้น


    ขอขอบคุณข้อมูลจาก
    - สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
    - วิกิพีเดีย
    - SchoolNet Thaniland
    ภาพประกอบทางอินเทอร์เน็ต
    <!-- Saved in parser cache with key panyathai_wiki:pcache:idhash:3444-0!1!0!!th!2 and timestamp 20080930103028 -->Retrieved from "http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/ศักราช"
    ประเภทของหน้า: ความรู้ทั่วไป

    <!-- end content -->
    <!-- end --><!-- end maincontent -->
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ปฏิทินไทย

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->



    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.5em; PADDING-LEFT: 0.5em; PADDING-BOTTOM: 0.5em; PADDING-TOP: 0.5em" vAlign=top noWrap width=60>
    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.5em; PADDING-TOP: 0.5em" vAlign=center width="100%">บทความนี้ต้องการเก็บกวาด ตรวจสอบ ปรับปรุง แก้ไขรูปแบบ เพิ่มแหล่งอ้างอิง ใส่หมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือภาษาที่ใช้
    ในส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนด้วยกัน เพื่อให้ได้ตามมาตรฐานวิกิพีเดียไทย
    คุณสามารถช่วยแก้ไขได้ โดยการตรวจสอบและปรับปรุงบทความนี้
    <SMALL>กรุณาเปลี่ยนไปใช้ป้ายข้อความอื่น เพื่อระบุสิ่งที่ต้องการตรวจสอบ หรือแก้ไข
    ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ วิธีแก้ไขหน้าพื้นฐาน คู่มือการเขียน และ นโยบายวิกิพีเดีย เมื่อบทความนี้ได้รับการแก้ไขตามนโยบายแล้ว ให้นำป้ายนี้ออก</SMALL>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.5em; PADDING-LEFT: 0.5em; PADDING-BOTTOM: 0.5em; PADDING-TOP: 0.5em" vAlign=top noWrap width=60>
    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.5em; PADDING-TOP: 0.5em" vAlign=center width="100%">บทความนี้ต้องการตรวจสอบความถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญ
    ถ้าคุณมีความรู้เกี่ยวกับบทความนี้ สามารถช่วยปรับปรุงเนื้อหาได้โดยการกด แก้ไข ด้านบน ซึ่งเมื่อตรวจสอบและแก้ไขแล้วให้นำป้ายนี้ออก
    <SMALL>ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ การจัดย่อหน้า คู่มือการเขียน การอ้างอิง และ นโยบายวิกิพีเดีย</SMALL>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    <TABLE class=infobox style="WIDTH: 20em" cellPadding=3><TBODY><TR><TH style="BACKGROUND: #dfdfef; TEXT-ALIGN: center" colSpan=2>
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ศักราช

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->




    ศักราช ช่วงเวลาที่จัดตั้งขึ้นตามการอ้างอิงของช่วงเวลานั้น โดยแบ่งได้ตามการอ้างอิงหรือการเรียก
    ศักราชทุกชนิดไม่มีศักราช 0 เช่นก่อนค.ศ. 1 คือ 1 ปีก่อนคริสตกาล เป็นต้น

    [แก้] ศักราชในประเทศไทย

    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.5em; PADDING-LEFT: 0.5em; PADDING-BOTTOM: 0.5em; PADDING-TOP: 0.5em" vAlign=top noWrap width=60>
    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.5em; PADDING-TOP: 0.5em" vAlign=center width="100%">บทความนี้ต้องการเก็บกวาด ตรวจสอบ ปรับปรุง แก้ไขรูปแบบ เพิ่มแหล่งอ้างอิง ใส่หมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือภาษาที่ใช้
    ในส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนด้วยกัน เพื่อให้ได้ตามมาตรฐานวิกิพีเดียไทย
    คุณสามารถช่วยแก้ไขได้ โดยการตรวจสอบและปรับปรุงบทความนี้
    <SMALL>กรุณาเปลี่ยนไปใช้ป้ายข้อความอื่น เพื่อระบุสิ่งที่ต้องการตรวจสอบ หรือแก้ไข
    ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ วิธีแก้ไขหน้าพื้นฐาน คู่มือการเขียน และ นโยบายวิกิพีเดีย เมื่อบทความนี้ได้รับการแก้ไขตามนโยบายแล้ว ให้นำป้ายนี้ออก</SMALL>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    <DL><DT>พุทธศักราช (พ.ศ.) <DD>ประเทศไทยเริ่มใช้พุทธศักราชในหมู่พระสงฆ์ ก่อนที่รัชกาล 6 จะเกล้าให้นำมาใช้แทน ร.ศ. ปีพุทธศักราชของไทย ถือกำเนิดโดยให้วันปรินิพพานเป็นปี พ.ศ. 0 แต่ ศรีลังกา พม่า ลาว และเขมร นับมากกว่าเรา 1 ปี คือนับเอาวันปรินิพพานเป็นปีที่ 1 ในปัจจุบันมีค้นพบว่าพุทธศักราช มีความคลาดเคลื่อนไปจากความเข้าใจข้างต้น 60 ปี นั่นคือ เขาเชื่อกันว่า พระพุทธเจ้าปรินิพพานปี พ.ศ. 60 มิใช่ พ.ศ. 0 </DD></DL><DL><DT>คริสต์ศักราช (ค.ศ.) <DD>เริ่มนับเอาตั้งแต่ปีที่พระเยซูคริสต์เกิดเป็น ค.ศ. 1 ซึ่งเวลานั้น พ.ศ. มีมาแล้วนับได้ 543 ปี ดังนั้นวันคริสตมาสในปี 2001 จึงครบรอบวันประสูติ 2000 ปี โดยมีวันที่ 1 มกราคมของทุกปี เป็นวันขึ้นปีใหม่ </DD></DL><DL><DT>มหาศักราช (ม.ศ.) <DD>หรือที่ชาวอินเดียเรียกว่า ศกาพทะ หรือ ศาลิวาหนกาล แปลว่า ปีของชาวศกะ (Scythian) เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระเจ้าศาลิวาหนะ หรือบางตำนานเรียกว่า พระเจ้ากนิษกะ แห่งศกราชวงศ์ ทรงมีชัยชนะเหนือแคว้นโดยรอบ เป็นมหาศักราชที่ 1 มีวิธีการนับวันเดือนปีจะเป็นไปตามสุริยคติ โดยวันขึ้นปีใหม่ วันที่ 1 เมษายนของทุกปี เกิดก่อนพุทธศักราช 621 ปี </DD></DL><DL><DT>จุลศักราช (จ.ศ.) <DD>เป็นการนับเดือนปีเป็นแบบทางจันทรคติ เริ่มนับ จ.ศ. 1 เมื่อปี พ.ศ. 1182 โดยนับเอาวันที่พระบุพโสระหัน สึกออกจากการเป็นพระมาเพื่อชิงราชบัลลังก์เป็นวันแรกของศักราช ในสมัยโบราณถือตามสุริยคติ (คัมภีร์สุริยยาตร) ใช้วันเถลิงศก (ปัจจุบันตกราว 16 เมษายน) เป็นวันปีใหม่ แต่ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ โปรดเกล้าให้ถือตามจันทรคติ คือใช้วันแรม 15 ค่ำ เดือน 4 ของทุกปีเป็นวันสิ้นปี </DD></DL><DL><DT>รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.) <DD>เริ่มใช้ในสมัยรัชกาลที่ 5 ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2432 เป็นวันที่ 1 เมษายน ร.ศ. 108 โดยถือเอาปีที่ตั้งกรุงเทพฯ เป็นเมืองหลวง เป็นปีรัตนโกสินทร์ศกที่ 1 และใช้อยู่จนถึง ร.ศ. 131 เป็น ร.ศ. สุดท้าย หรือเพียง 23 ปี ก็เลิกใช้ไป เพราะเห็นว่าไม่สะดวกในการอ้างอิงปีในประวัติศาสตร์ เช่น กล่าวว่า ไทยเสียกรุงครั้งที่ 2 ในปีที่ 15 ก่อน ร.ศ. เป็นต้น </DD></DL><DL><DT>กลียุคศักราช หรือกลียุคกาล (ก.ศ.) <DD>เป็นศักราชจากชมพูทวีป และเป็นศักราชที่เก่าที่สุดที่ปรากฏในบันทึกของไทย เกิดก่อนพุทธศักราชถึง 2558ปี </DD></DL><DL><DT>วิกรมาทิตย์ศักราช (ว.ศ.) หรือวิกรมสังวัต <DD>เป็นศักราชจากชมพูทวีป แต่ไม่มีปรากฏในบันทึกของไทย เกิดหลังพุทธศักราช 486 ปี </DD></DL><DL><DT>ศักราชพระเจ้าเหลือง (ล.ศ.) <DD>เป็นศักราชที่ถือกำเกิดโดยพระเจ้าเหลืองมหาราช ของดินแดนที่เป็นประเทศจีนในปัจจุบัน เกิดก่อนพุทธศักราช 2154 ปี ในปัจจุบันมีข้อถกเถียงว่า ตัวเลขของศักราชนี้อาจมีค่ามากเกินไป 60 ปี เช่นเดียวกับ พ.ศ. และหรืออาจนับเอา ล.ศ. 0 เป็นปีตั้งศักราชด้วยก็ได้ </DD></DL>


    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

    <!-- NewPP limit reportPreprocessor node count: 104/1000000Post-expand include size: 8691/2048000 bytesTemplate argument size: 3387/2048000 bytesExpensive parser function count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:1008-0!1!0!!th!2 and timestamp 20080924035741 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/ศักราช".
    หมวดหมู่: บทความที่รอการตรวจสอบรูปแบบ | หน้าที่ต้องการความช่วยเหลือ | ปฏิทิน
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle>[SIZE=+3][/SIZE]</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ความรู้เรื่องศักราชที่ใช้ในหนังสือไทย

    หนังสือไทยโบราณทั้งหลาย เช่น หนังสือพงศาวดาร ประกาศกฏหมายเก่า หรือ ตำราต่างๆ ฯลฯ มักลงศักราช ไว้ต่างๆ กัน สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เมื่อจะลงศักราชบอกเวลาเป็นปี นิยมใช้ "จุลศักราช" หนังสือที่ตึพิมพ์ตั้งแต่พุทธศักราช ๒๔๓๑ หรือในตอนกลางรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เช่น หนังสือราชการ ตำราและ แบบเรียน ฯลฯ ใช้ " รัตนโกสินทรศก " แทน "จุลศักราช" ทั้งสิ้น แต่การลงศักราชเป็น"รัตนโกสินทรศก" นั้น กระทำอยู่ได้ไม่นานนัก เพราะปรากฏว่าตั้งแต่พุทธศักราช ๒๔๕๕ เป็นต้นมา หนังสือราชการและสิ่งพิมพ์ต่างๆ หันมาใช้ "พุทธศักราช" แทน "รัตนโกสินทรศก" ตราบจนทุกวันนี้ ประโยชน์ของการเปรียบเทียบศักราชเป็นสิ่งควรจำสำหรับใช้ประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าตำราเก่า
    </TD></TR><TR><TD></TD><TD>ศักราชเท่าที่ปรากฏในหนังสือไทยโบราณ มีด้วยกัน ๕ ชนิดคือ</TD></TR><TR><TD align=middle></TD><TD align=middle><TABLE border=0><TBODY><TR><TD>๑. มหาศักราช</TD><TD>๒. จุลศักราช</TD><TD>๓. ศักราชจุฬามณี (ศักราชกฏหมาย)</TD><TD>๔. รัตนโกสินทรศก</TD><TD>๕. พุทธศักราช</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD><TD>มหาศักราช มีกำหนดแรกบัญญัติ นับแต่วันพระพุทธเจ้านิพพานแล้ว ๖๒๑ ปี เป็นศักราชที่แพร่หลายเข้ามาใช้ในเมืองไทยก่อนศักราชอื่น ประมาณว่าตั้งแต่เริ่มมีการจารึกหนังสือไทย ใช้มหาศักราชเป็นส่วนใหญ่</TD></TR><TR><TD></TD><TD>จุลศักราช เป็นศักราชที่ตั้งขึ้น และใช้ในเมืองพม่ามาแต่ก่อน ต่อมาได้แพร่หลายเข้ามาใช้ในราชการตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ในแผ่นดินสมเด็จพระมหาธรรมราชา (๒๑๑๒- ๒๑๓๓) ซึ่งขณะนั้นกรุงศรีอยุธยาติดต่อเกี่ยวกับเมืองหงสาวดีในฐานะเป็นเมืองประเทศราชอยู่ถึง ๑๕ ปีเนื่องจากเสียกรุงแก่พม่าครั้งแรก</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ความเป็นมาของ จุลศักราช มีว่า "สังฆราชบุตุโสระหัน" เมื่อสึกจากสมณเพศได้ชิงราชสมบัติเป็นกษัตริย์ลำดับที่ ๑๙ ในราชวงศ์สมุทฤทธิ์ในประเทศพุกาม ได้บัญญัติจุลศักราชขึ้นเมื่อพุทธศักราช ๑๑๘๒ (กำหนดแรกบัญญัติตั้งแต่วันพระพุทธเจ้านิพพานไปแล้ว ๑๑๘๑ ปี) และต่อมาก็เลิกใช้ เนื่องจากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อจุลศักราช ๑๒๕๐ ได้มี "ประกาศให้ใช้วันอย่างใหม่" ว่า : </TD></TR><TR><TD></TD><TD>" มีพะบรมราชโองการดำรัสเหนือเกล้าฯ สั่งว่า ด้วยทรงพระราชดำริห์ถึงวิธีนับวัน เดือน ที่ใช้กันอยู่ในสยามมณฑล และที่ใช้ในประเทศน้อยใหญ่เป็นอันมากในโลกนี้ เป็นวิธีต่างกันอยู่มากคือกล่าวโดยย่อก็เป็นวิธีใช้ตามจันทรคติอย่างหนึ่ง และสุริยคติอย่างหนึ่ง จึงทรงพระราชดำริห์ว่าวิธีนับวัน เดือน ปี อย่างดีที่สุดนั้น ควรจะประกอบด้วยเหตุอันควร ๓ ประการคือ (๑) ให้ถูกต้องใกล้ชิดกับฤดูกาล (๒) ให้มีประมาณอันเสมอไม่มากไม่น้อยไปกว่ากันนัก กับ (๓) ให้คนทั้งปวงรู้ง่ายทั่วไปดีกว่าอย่างอื่น ทั้ง ๓ ประการนี้ จึงจะสมควรที่จะใช้ในประชุมชนทั้งปวง
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ผมลงให้ศึกษากันแล้วนะครับ

    .
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ฉีดสเปรย์พริกไทยป่วนโรงเรียน ฉกเงินในกระเป๋า “อ.ยิ่งศักดิ์”!
    http://www.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9510000115877
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ทีมข่าวอาชญากรรม ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>30 กันยายน 2551 15:16 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>โรงเรียนธุรกิจการอาหารไทยและนานาชาติของ อ.ยิ่งศักดิ์</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>โต๊ะทำงานที่อ.ยิ่งศักดิ์วางกระเป๋าไว้ก่อนถูกคนร้ายฉกทรัพย์สินไป</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>คนร้ายฉีดสเปรย์พริกไทย ป่วนโรงเรียน “อาจารย์ยิ่งศักดิ์” แล้วใช้จังหวะชุลมุน เข้าไปรื้อค้นทรัพย์สินในกระเป๋าของอาจารย์ที่วางไว้ที่โต๊ะทำงาน ฉกเงินสดไป 5 พันบาท พร้อมนำบัตรเครดิตไปรูดซื้อสินค้าเสื้อผ้าเด็ก และชุดชั้นในวาโก้ หลบหนีไปลอยนวล

    วันนี้ (30 ก.ย.) เมื่อเวลา 14.00 น.ผู้สื่อข่าวเดินทางไปยังโรงเรียนธุรกิจอาหารไทยและนานาชาติ เลขที่ 1044 ถนนพระราม 3 ปากซอย 44 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กทม.ของ นายยิ่งศักดิ์ จงเลิศเจษฎาวงศ์ อายุ 52 ปี หรือที่รู้จักกันในนามอาจารย์ยิ่งศักดิ์ ผู้เชียวชาญในด้านการประกอบอาหาร และพิธีกรชื่อดัง เจ้าของโรงเรียนดังกล่าว ภายหลังจากทราบว่า มีคนร้ายเข้าไปขโมยทรัพย์สินของนายยิ่งศักดิ์ถึงในโรงเรียน

    ทั้งนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวถูกเปิดเผยขึ้นเมื่อเวลา 18.10 น.วานนี้ (29 ก.ย.) โดย นายยิ่งศักดิ์ เข้าแจ้งความร้องทุกข์ต่อ ร.ต.ท.ศุภกร เลาหทวีโชค พนักงานสอบสวน (สบ 1) สน.บางโพงพาง ว่า เมื่อเวลาประมาณ 12.00 น.ถูกคนร้ายเข้าไปขโมยทรัพย์สินที่อยู่ในกระเป๋า ซึ่งวางไว้ภายในโรงเรียน โดยคนร้ายได้เงินสดไป 5,000 บาท บัตรเครดิตของธนาคารกรุงเทพ ซึ่งคนร้ายนำไปใช้รูดซื้อสินค้า 2 ครั้ง ในเวลา 13.29 น.และเวลา 13.38 น.ที่ห้างเซ็นทรัลพระราม 3

    เบื้องต้นผู้สื่อข่าวได้โทรศัพท์สอบถามไปยัง นายยิ่งศักดิ์ ได้รับการเปิดเผยว่า ในวันเกิดเหตุ เมื่อเดินทางมาถึงโรงเรียน รู้สึกปวดหัว จึงขึ้นไปนอนพักผ่อนบนชั้นสองของโรงเรียน โดยวางกระเป๋าไว้ที่โต๊ะทำงานของตัวเองที่ชั้นล่าง หลังจากงีบไปได้พักหนึ่ง เมื่อถึงเวลาประมาณ 12.30 น.ทั้ง นักเรียน อาจารย์ เกิดแตกตื่น เพราะต่างรู้สึกผิดปกติขึ้นในร่างกาย จึงลงมาตรวจสอบ ก็พบว่า ภายในโรงเรียนคล้ายถูกฉีดด้วยสเปรย์พริกไทย ทำให้แสบคอ แสบจมูก

    “ตอนแรกอาจารย์คิดว่าเป็นแก๊สรั่ว เนื่องจากในโรงเรียนมีถังแก๊สจำนวนมาก จึงเดินตรวจสอบ แต่ไม่พบสิ่งผิดปกติ จึงคาดว่า อาจจะเป็นแก๊สจากโรงงานด้านข้าง และเมื่อไปตรวจสอบก็ไม่พบเหตุผิดปกติ จนกระทั่งช่วงเย็น มาตรวจสอบกระเป๋าของตัวเอง จึงพบว่า ทรัพย์สินดังกล่าวหายไป จากนั้นตรวจสอบบัตรเครดิต พบว่า มีการนำไปรูดซื้อสินค้า 2 ครั้ง ส่วนคนร้ายคาดว่า น่าจะเข้ามาในช่วงที่เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น จึงฝากเตือนไปยังผู้ประกอบการอื่นๆ ให้ระมัดระวังคนร้าย ที่ปัจจุบันอาจจะมีการพัฒนามาใช้สเปรย์พริกไทยในการก่อเหตุ แต่หลังจากแจ้งตำรวจมาตรวจสอบ ก็ไม่พบกระป๋องสเปรย์พริกไทยแต่อย่างใด” อาจารย์ยิ่งศักดิ์ กล่าวเตือน

    ต่อมาผู้สื่อข่าวเดินทางไปที่โรงเรียน จากการสอบถาม น.ส.นุวดี ชาลีชาติ อายุ 27 ปี อาจารย์ สอนแผนกเบเกอรี่ เปิดเผยว่า ช่วงเกิดเหตุ เป็นเวลาพักเที่ยง คนในโรงเรียนเกิดอาการแสบคอ โดยไม่ได้กลิ่น ไม่พบควัน แต่ละคนก็แตกตื่นวิ่งออกไปข้างนอก เพราะคิดว่าเป็นแก๊สรั่ว โดยเกิดอาการแสบคออยู่ประมาณ 2 ชั่วโมง จึงทุเลาลง สามารถกลับเข้าไปในโรงเรียนได้ ส่วนคนร้ายที่เข้ามา คาดว่า น่าจะเป็นคนแปลกหน้าข้างนอกที่น่าสงสัย 2 คน คนแรกเป็นชายรูปร่างสูง อายุประมาณ 30 ปี สวมเสื้อลายสีฟ้า เข้ามาทำที่เดินดูตู้ปลา และขอเลือกซื้อหนังสือตำราการทำอาหาร โดยเลือกอยู่หลายเล่มมาก ซึ่งจากการสอบถาม ชายคนดังกล่าวอ้างว่า มารอแฟนที่เรียนอยู่ แต่หลังจากเกิดเหตุ ก็ไม่ได้ซื้อหนังสือ คาดว่า จะอาศัยช่วงที่ชุลมุน รื้อค้นทรัพย์สินในกระเป๋าของอาจารย์ไป นอกจากนี้ ยังมีหญิงสาวต้องสงสัยอีกคน เดินเข้าไปด้านใน แต่เมื่อจะเข้าไป ก็พบเด็กนักเรียนชั้น ปวช.กำลังสอบอยู่ จึงเดินย้อนกลับออกมา อาจเป็นไปได้ว่า หากไม่มีเด็กสอบอยู่ อาจจะเข้าไปค้นทรัพย์สินก็เป็นได้

    ด้าน พ.ต.ท.กฤษณ์ แจ้งแสง สว.สส.สน.บางโพงพาง กล่าวว่า การตรวจสอบพบว่า คนร้ายเป็นคนภายนอกที่เข้าไปในโรงเรียน เป็นชายผิว 2 สี อายุประมาณ 20 ปีเศษ ใช้บัตรเครดิตของผู้เสียหายไปรูดซื้อสินค้าในห้าง 2 ครั้ง ครั้งแรกรูดซื้อเสื้อผ้าเด็ก อีกครั้งซื้อชุดชั้นในวาโก้ ตำรวจจะประสานขอภาพวงจรรปิดจากห้าง เพื่อใช้ในการสืบสวนและสเกตช์ภาพคนร้าย ในการติดตามตามมาดำเนินคดีให้ได้ต่อไป
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...