พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. กมโล

    กมโล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    270
    ค่าพลัง:
    +229
    ไม่รู้ต้องฝึกอีกนานแค่ไหนถึงจะเปิดได้ บางวันก็ขยัน บางวันก็ขี้เกียจ
    ขอบคุณสำหรับคำตอบครับพี่น้องหนู(f):cool:
     
  2. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    บบบ
    ใจเย็นๆครับเรื่อยๆอย่าเร่งครับยิ่งเร่งยิ่งไม่ได้ครับ(f)
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    มีหลังไมค์ถามมา ว่าเป็นพิมพ์ไหนบ้าง ผมจะนำไปให้ชมกัน ในวันที่นัดพบกันนะครับ

    .
     
  4. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    เอ...ท่านปาทานไปอภิปราย หรือบรรยายที่ไหนมานะนี่ ถึงได้มีการถามหลังไมค์กัน อ้าว แล้วมีนัดพบอะไรกันน่ะ ทำไมถึงไม่นัดกาพ้มบ้างล่ะ(smile)
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อยากนัดอยู่เหมือนกัน แต่ไกลเกิน ไว้มาใกล้ๆ จะนัดถี่ๆเลย หุหุหุ

    .
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    แค่"คิด" ยังไม่ทันได้ทำ
    ก็ต้องได้รับผลกรรม ...
    http://palungjit.org/showthread.php?t=133732



    <TABLE class=tborder id=post1278832 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">14-06-2008, 01:53 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#1 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>TupLuang<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1278832", true); </SCRIPT>
    ผู้ร่วมสนับสนุนบริจาค

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งล่าสุด: วันนี้ 05:23 PM
    วันที่สมัคร: Jun 2008
    ข้อความ: 927
    Groans: 0
    Groaned at 16 Times in 13 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 1,095
    ได้รับอนุโมทนา 5,302 ครั้ง ใน 731 โพส
    พลังการให้คะแนน: 93 [​IMG]



    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1278832 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- icon and title -->แค่"คิด" ยังไม่ทันได้ทำ ก็ต้องได้รับผลกรรม ...
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->ครั้งหนึ่ง เมื่อพระพุทธเจ้ายังทรงมีพระชนม์ชีพอยู่ ทรงตรัสแก่พระภิกษุ และเหล่าพุทธบริษัทเพื่อให้สลดสังเวชว่า กรรมแม้แต่ที่เกิดจากการคิด ก็เป็นกรรมที่ต้องได้รับผลกรรมนั้น แม้แต่เป็นพระโพธิสัตว์ผู้สร้างบารมีเอง มีบุญมากกว่ามนุษย์ปรกติธรรมดาแต่ บางครั้ง กิเลสก็ยังเข้าครอบงำได้ ทำให้ท่าน เมื่อสำเร็จเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ยังต้องทรงได้รับผลกรรม ไม่มีใครหลีกพ้นกรรมได้ จึงควรที่ท่านพุทธศาสนิกชน ผู้นับถือพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งของชีวิตสั้นๆ นี้จะระลึกอยู่เสมอว่า แม้แต่พระโพธิสัตว์ ยังมีกิเลสทำกรรมไม่ดีได้ขนาดนี้ เราที่ยังเป็นปุถุชน ถ้าไม่ระมัดระวัง กิเลสของเรา วันหนึ่ง หรือแม้แต่ตอนนี้ จะเผลอทำกรรมร้าย ๆ ขนาดไหน

    บางท่าน อาจจะไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ฆ่ามด แต่บางครั้งกิเลสก็อาจมีความคิดในใจว่าอยากให้มดตาย ยุงตาย เผลอขึ้นมา กรรมเหล่านี้ และกรรมอื่น ๆ เช่น พูดโกหก ลักทรัพย์ โกรธใคร หลอกลวง อิจฉา ดูหมิ่นคนอื่น หรือเกิดมีคิดไม่ดี อื่น ๆ เกิดขึ้นในใจ สิ่งเหล่านี้ในคัมภรีพระอภิธรรมมัตถสังคหะปริเฉทที่ ๕ ซึ่งได้จำแนกมาแล้วและในพระไตรปิฎกเองก็ได้กล่าวว่า "แค่คิดไม่ดี" ก็บาปแล้ว ไม่ต้องกล่าวถึงทำเลย


    ซึ่งกรรมที่พระพุทธเจ้าทรงตรัส มีตัวอย่างสั้น ๆ ตอนหนึ่งดังต่อไปนี้ครับ

    อรรถกถา ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ เถราปทาน ๑. พุทธวรรค
    ๑. พุทธาปทาน


    ปัญหาข้อที่ ๙ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.

    อาพาธที่ศีรษะ คือเวทนาที่ศีรษะ ชื่อว่าสีสทุกขะ ทุกข์ที่ศีรษะ.

    ได้ยินว่า ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์บังเกิดเป็นชาวประมง ในหมู่บ้านชาวประมง.


    วันหนึ่ง พระโพธิสัตว์นั้นกับพวกบุรุษชาวประมง ไปยังที่ที่ฆ่าปลา เห็นปลาทั้งหลายตาย ได้ทำโสมนัส(ดีใจ)ให้เกิดขึ้นในข้อที่ปลาตายนั้น(เห็นปลาถูกฆ่าตายแล้วดีใจ) แม้บุรุษชาวประมงที่ไปด้วยกันก็ทำความโสมนัสให้เกิดขึ้นอย่างนั้นเหมือนกัน.


    ด้วยอกุศลกรรมนั้น พระโพธิสัตว์ได้เสวยทุกข์ในอบายทั้ง ๔ นานแสนนานในอัตภาพหลังสุดนี้ ได้บังเกิดในตระกูลศากยราช พร้อมกับบุรุษเหล่านั้น แม้จะได้บรรลุความเป็นพระพุทธเจ้าโดยลำดับแล้ว ก็ยังได้เสวยความเจ็บป่วยที่ศีรษะด้วยตนเอง และเจ้าศากยะเหล่านั้นถึงความพินาศกันหมดในสงครามของเจ้าวิฑูฑภะ โดยนัยดังกล่าวไว้ในอรรถกถาธรรมบท.


    ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า

    เราเป็นลูกชาวประมงในหมู่บ้านชาวประมง เห็นปลา
    ทั้งหลายถูกฆ่า ได้ยังความโสมนัสดีใจให้เกิดขึ้น.
    เพราะวิบากของกรรมนั้น ความทุกข์ที่ศีรษะได้มีแก่เรา
    แล้ว ในคราวที่เจ้าวิฑูฑภะฆ่าสัตว์ทั้งหมด (คือเจ้าศากยะ)
    แล้ว.


    http://community.thaiware.com/thai/i...owtopic=338061
    <!-- / message -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ง่ำๆ วันนี้ตาลุงไปรับใช้ชาติมาครับ แล้วตาลุงแกก็มาอีกล่ะ ว่าลักษณะอย่างนี้พอไปโชว์กับ พวกพี่ๆคุณได้อะเปล่า เณร??? มือผี???(i)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 ธันวาคม 2011
  8. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    อะไรง่ะ ส่งมาให้ดูหน่อยสิลุง:mad:
     
  9. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ลุงแกเตือนมาครับ ว่าต้องระวัง เดี๋ยวท่านเพชร จามาสวนลงที 20องค์นะ หุ หุ
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://palungjit.org/showthread.php?p=1319070#post1319070

    <TABLE class=tborder id=post1319070 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead id=currentPost style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">30/6/2551, 05:46 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #32 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>sithiphong<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1319070", true); </SCRIPT>
    ผู้ร่วมสนับสนุนบริจาค

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งล่าสุด: วันนี้ 05:46 PM
    วันที่สมัคร: Dec 2005
    ข้อความ: 23,809
    Groans: 108
    Groaned at 93 Times in 48 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 9,752
    ได้รับอนุโมทนา 147,179 ครั้ง ใน 19,906 โพส
    พลังการให้คะแนน: 13965 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1319070 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ ROJKAJORN [​IMG]
    ขอบคุณคุณ specialized ด้วยครับที่แนะนำ ผมไม่ค่อยรู้ขั้นตอนหากทำให้ท่านผู้ใดรู้สึกไม่ดีก็กราบขออภัยด้วยครับ ผมดึงภาพมาจากกระทู้ของคุณ sithiphong ในกระทู้พระวังหน้าที่หลวงปู่บรมครูโลกอุดรครับ จะขอเอารูปออกก่อนจนกว่าคุณ sithipong อนุมัติครับ ขอบคุณอีกครังครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ผมได้โทร.ไปสอบถามและขออนุญาตกับ อ.จเร แห่งบ้านดวงธรรม แล้วว่า อนุญาตให้คุณROJKAJORNเผยแพร่เรื่องรูปคณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ว่ามีรูปร่างหน้าตาแต่ละพระองค์เป็นอย่างไร พระนามของหลวงปู่มีพระนามอะไรบ้างในกระทู้บุญนี้ เพื่อเป็นธรรมทาน และไม่ยินยอมในการหาผลประโยชน์ทางการค้าทั้งทางตรงและทางอ้อมครับ

    ส่วนรูปหลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า ซึ่งมีการจารอักขระไว้ เป็นรูปที่ผมได้จากพระอาจารย์รูปหนึ่ง ผมอนุญาตให้คุณROJKAJORNเผยแพร่รูปหลวงปู่อิเกสาโร ซึ่งผมขอสงวนลิขสิทธิ์ครับ ให้เผยแพร่เป็นธรรมทาน และไม่ยินยอมในการหาผลประโยชน์ทางการค้าทั้งทางตรงและทางอ้อมครับ

    [​IMG]

    รูปคณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร (คณะโสณะ-อุตระ)

    1.หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า

    2.หลวงปู่พระโสณเถระเจ้า
    3.หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า (หลวงปู่อิเกสาโร)
    4.หลวงปู่พระฌาณียะเถระเจ้า (หลวงปู่ขรัวขี้เถ้า หรือหลวงพ่อกบ วัดเขาสาริกา ลพบุรี)
    5.หลวงปู่พระภูริยะเถระเจ้า (หลวงปู่หน้าปาน หรือหลวงพ่อโอภาสี อาศรมบางมด วัดโอภาสี กรุงเทพฯ)


    โดยปกติที่เห็นหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรกันทั่วๆไปนั้น จะเป็นรูปของหลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร)ครับ

    [​IMG][​IMG]

    โมทนาสาธุครับ
    <!-- / message --><!-- sig --></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    [​IMG] [​IMG]

    อย่าทะเลาะกันครับ [​IMG] ผมในฐานะ ท่านปา-ทาน [​IMG] ขอชี้ขาดว่า ขอให้ส่งองค์นี้มาที่ผม [​IMG] แล้วจะได้ไม่ทะเลาะกันครับ

    .
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=32.0&i=1
    อ่านอรรถกถาหน้าต่างที่ [๑][๒][๓][๔][๕][๖][๗][๘][๙][๑๐][๑๑]

    <CENTER><BIG></BIG><CENTER class=D></CENTER></CENTER>

    <CENTER class=D>สารบัญ อรรถกถาขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ เถราปทาน ๑. พุทธวรรค
    ๑. พุทธาปทาน
    อรรถาธิบาย เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๒ ข้อ [๑]</CENTER>๑. พุทธาปทาน
    เนื้อความในพระไตรปิฎก
    เนื้อความในอรรถกถา มีทั้งหมด ๑๑ หน้าต่าง
    ๑. พุทธาปทาน <SMALL style="RIGHT: 200px; POSITION: absolute">หน้าต่างที่</SMALL>
    คาถาเริ่มต้นพระคัมภีร์ <SMALL style="RIGHT: 200px; POSITION: absolute">๑. </SMALL>
    นิทานกถา
    ทูเรนิทานกถา
    สุเมธกถา
    โทษของที่จงกรมมี ๕ อย่าง
    ผ้าเปลือกไม้มีอานิสงส์ ๑๒ ประการ
    บรรณศาลามีโทษ ๘ ประการ
    การอยู่โคนไม้นั้นมีคุณ ๑๐ ประการ
    พระผู้มีพระภาคเจ้าทีปังกร <SMALL style="RIGHT: 200px; POSITION: absolute">๒. </SMALL>
    ประชุมธรรม ๘ ประการ
    พุทธการกธรรม ๑๐ ประการ <SMALL style="RIGHT: 200px; POSITION: absolute">๓. </SMALL>
    พระผู้มีพระภาคเจ้าโกณฑัญญะ <SMALL style="RIGHT: 200px; POSITION: absolute">๔. </SMALL>
    พระผู้มีพระภาคเจ้ามังคละ
    พระผู้มีพระภาคเจ้าสุมนะ
    พระผู้มีพระภาคเจ้าเรวตะ
    พระผู้มีพระภาคเจ้าโสภิตะ
    พระผู้มีพระภาคเจ้าอโนมทัสสี
    พระผู้มีพระภาคเจ้าปทุมะ
    พระผู้มีพระภาคเจ้านารทะ
    พระผู้มีพระภาคเจ้าปทุมุตตระ
    พระผู้มีพระภาคเจ้าสุเมธะ
    พระผู้มีพระภาคเจ้าสุชาตะ
    พระผู้มีพระภาคเจ้าปิยทัสสี
    พระผู้มีพระภาคเจ้าอรรถทัสสี
    พระผู้มีพระภาคเจ้าธรรมทัสสี
    พระผู้มีพระภาคเจ้าสิทธัตถะ
    พระผู้มีพระภาคเจ้าติสสะ
    พระผู้มีพระภาคเจ้าผุสสะ
    พระผู้มีพระภาคเจ้าวิปัสสี
    พระผู้มีพระภาคเจ้าสิขี
    พระผู้มีพระภาคเจ้าเวสสภู
    พระผู้มีพระภาคเจ้ากกุสันธะ <SMALL style="RIGHT: 200px; POSITION: absolute">๕. </SMALL>
    พระผู้มีพระภาคเจ้าโกนาคมนะ
    พระผู้มีพระภาคเจ้ากัสสปะ
    อวิทูเรนิทานกถา <SMALL style="RIGHT: 200px; POSITION: absolute">๖. </SMALL>
    ความโกลาหล ๓ ประการ
    ปัญจมหาวิโลกนะ
    มัชฌิมประเทศ
    ปุพพนิมิต ๓๒ ประการ
    ๓ อัตภาพ
    สหชาต ๗
    ดาบสชื่อว่ากาฬเทวิล
    เสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์ <SMALL style="RIGHT: 200px; POSITION: absolute">๗. </SMALL>
    จุฬามณีเจดีย์
    บริขาร ๘
    พระปัญจวัคคีย์
    ทาริกาชื่อว่าสุชาดา
    สมัยนั้น มารผู้มีบาปคิดว่า
    สันติเกนิทานกถา <SMALL style="RIGHT: 200px; POSITION: absolute">๘. </SMALL>
    พาณิช ๒ คนชื่อตปุสสะและภัลลิกะ
    พระปัญจวัคคีย์เห็นพระตถาคตเสด็จมาแต่ไกล
    พระศาสดาทรงเห็นอุปนิสัยของยสกุลบุตร
    ภัททวัคคีย์กุมาร ๓๐ คน
    ชฎิลสามพี่น้อง
    พระเจ้าพิมพิสารถวายสวนเวฬุวัน
    ปริพาชกสองคนคือสารีบุตรและโมคคัลลานะ
    พระเจ้าสุทโธทนมหาราชมีพระประสงค์จะพบ
    ฝ่ายเจ้าศากยะทั้งหลาย
    ฝนโบกขรพรรษา <SMALL style="RIGHT: 200px; POSITION: absolute">๙. </SMALL>
    ท่านอนาถบิณฑิกคหบดี
    พรรณนาอัพภันตรนิทาน
    พรรณนาพุทธาปทาน <SMALL style="RIGHT: 200px; POSITION: absolute">๑๐. </SMALL>
    หัวข้อปัญหา ๑๒ ข้อ
    ปัญหาข้อที่ ๑
    ปัญหาข้อที่ ๒ <SMALL style="RIGHT: 200px; POSITION: absolute">๑๑. </SMALL>
    ปัญหาข้อที่ ๓
    ปัญหาข้อที่ ๔
    ปัญหาข้อที่ ๕
    ปัญหาข้อที่ ๖
    ปัญหาข้อที่ ๗
    ปัญหาข้อที่ ๘
    ปัญหาข้อที่ ๙
    ปัญหาข้อที่ ๑๐
    ปัญหาข้อที่ ๑๑
    ปัญหาข้อที่ ๑๒
    .. สารบัญ อรรถกถาขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ เถราปทาน ๑. พุทธวรรค ๑. พุทธาปทาน จบ.

    ดาวน์โหลด โปรแกรมพระไตรปิฎก
    บันทึก ๑๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
    หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ DhammaPerfect@yahoo.com
    <!--BEGIN WEB STAT CODE----><SCRIPT language=javascript1.1>page="tipitaka";</SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.1 src="http://truehits1.gits.net.th/data/c0004100.js"></SCRIPT><!-- Begin RealTracker ---><SCRIPT><!--function f(s) {document.write('[​IMG]')}function td(n) {s=''+n;if(s.length==1)s='0'+s;return s}function fdy(n) {s=''+n;if(n<100) s='19'+s;return s}res='';ref=escape(document.referrer);t=new Date()tt=td(t.getMonth()+1)+'%2F'+td(t.getDate())+'%2F'+fdy(t.getYear())+'+'+td(t.getHours())+'%3A'+td(t.getMinutes())+'%3A'+td(t.getSeconds())t.setTime (t.getTime()+31536000000);c='nethit';r=''if (document.cookie) {cc=document.cookie;i=cc.indexOf(c)if(i>-1) {os=cc.indexOf('=',i)+1;oe=cc.indexOf(';',i)if(oe<0) oe=cc.length;r=cc.substring(os,oe)}}if (r=='') r=t.getTime();document.cookie=c+'='+r+'; expires='+t.toGMTString()+';'ck=0;if(document.cookie.indexOf(c)>-1) ck=1// ---></SCRIPT><SCRIPT language=Javascript1.1><!--if (navigator.userAgent.indexOf('MSIE 3')<0){if (navigator.javaEnabled()) res+='&j=1'else res+='&j=0'}// ---></SCRIPT><SCRIPT language=Javascript1.2><!--if (navigator.userAgent.indexOf('MSIE 3')<0){res+='&h='+screen.height+'&w='+screen.width+'&c='if(screen.pixelDepth)res+=screen.pixelDepthelse res+=screen.colorDepth}// ---></SCRIPT><SCRIPT><!--f('http://1.rtcode.com/netpoll/ifree.asp?id=181903&js=1&to=0&lid=90000&ref='+ref+res+'&tt='+tt+'&ck='+ck+'&b='+r)// ---></SCRIPT>


    .
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=32.0&i=1&p=10


    <CENTER><BIG>อรรถกถา ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ เถราปทาน ๑. พุทธวรรค</BIG> <CENTER class=D>๑. พุทธาปทาน</CENTER></CENTER>
    หน้าต่างที่ ๑๐ / ๑๑.

    <CENTER>๑. พรรณนาพุทธาปทาน </CENTER>บัดนี้ พระเถระมีความประสงค์จะกล่าวอรรถกถาอปทาน ในลำดับอัพภันตรนิทาน จึงกล่าวไว้ว่า
    อปทาน คืออปทานใด แสดงนัยอันวิจิตร พระอรหันตเจ้า
    ทั้งหลาย สังคายนาไว้ในขุททกนิกาย บัดนี้ ถึงลำดับแห่ง
    การสังวรรณนา เนื้อความแห่งอปทานนั้น ดังนี้.
    ก่อนอื่น อปทานใดในคาถานั้น ย่อมถึงการสงเคราะห์ลงในรสอันเดียวกัน เพราะท่านกล่าวไว้ว่า พระพุทธพจน์ทั้งสิ้นมีรสคือวิมุตติเป็นอันเดียวกัน, ย่อมถึงการสงเคราะห์ลงในธรรมที่ท่านสงเคราะห์ไว้ ๒ ส่วนด้วยอำนาจธรรมและวินัย,
    ในบรรดาปฐมพุทธพจน์ มัชฌิมพุทธพจน์และปัจฉิมพุทธพจน์ ย่อมถึงการสงเคราะห์ลงในมัชฌิมพุทธพจน์, ในบรรดาพระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎกและพระอภิธรรมปิฎก ย่อมถึงการสงเคราะห์ลงในพระสุตตันตปิฎก, ในบรรดานิกาย ๕ คือ ทีฆ<WBR>นิกาย มัช<WBR>ฌิม<WBR>นิกาย สัง<WBR>ยุตต<WBR>นิ<WBR>กาย อัง<WBR>คุต<WBR>ตร<WBR>นิ<WBR>กายและขุททกนิกาย ย่อมถึงการสงเคราะห์ลงใน<WBR>ขุท<WBR>ท<WBR>ก<WBR>นิ<WBR>กาย, ในบรรดานวังคสัตถุศาสน์ คือ สุตตะ เคยยะ ไวยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ ท่านสงเคราะห์ลงในคาถา.
    ในบรรดาธรรมขันธ์ ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ ซึ่งท่านพระอานนท์กล่าวไว้อย่างนี้ว่า
    ธรรมเหล่าใดที่คล่องปากขึ้นใจของข้าพเจ้า ธรรม
    เหล่านั้นมี ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ คือที่ข้าพเจ้าเรียน
    จากพระพุทธเจ้า ๘๒,๐๐๐ เรียนจากภิกษุ ๒,๐๐๐ พระ
    ธรรมขันธ์ ดังนี้.
    เป็นอันสงเคราะห์ลงใน ๒-๓ พระธรรมขันธ์.
    บัดนี้ ท่านเมื่อจะแสดงอปทานนั้น จึงกล่าวว่า พระพุทธเจ้าผู้เป็นพระธรรมราชาสมบูรณ์ด้วยบารมี ๓๐ ถ้วน มีจำนวนนับไม่ถ้วน ดังนี้.
    ในคำเหล่านั้นมีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
    บารมี ๑๐ ถ้วนนั่นเอง จัดเป็นบารมี ๓๐ ถ้วน ด้วยอำนาจบารมี ๑๐ อุปบารมี ๑๐ และปรมัตถบารมี ๑๐ โดยเป็นอย่างต่ำ อย่างกลางและอย่างสูง.
    ผู้บริบูรณ์ดี คือผู้สมบูรณ์ ประกอบ พร้อมพรั่ง บรรลุ ประกอบพร้อมด้วยบารมี ๓๐ ถ้วนนั้น เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าผู้สมบูรณ์ด้วยบารมี ๓๐ ถ้วน.
    ชื่อว่าราชา เพราะยังหมู่สัตว์ผู้อยู่ในสกลโลกทั้ง ๓ และกายของตนให้ยินดี คือให้ยึดติดด้วยพรหมวิหารสมาบัติ ๔ คือเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา หรือด้วยความเป็นผู้มีจิตเป็นอันเดียวด้วยธรรมเครื่องอยู่แห่งผลสมาบัติ,
    พระราชาโดยธรรม ชื่อว่าพระธรรมราชา, พระพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นอย่างนี้.
    อธิบายว่า พระพุทธเจ้าผู้เป็นพระธรรมราชาที่ล่วงไปแล้ว คือจากไปแล้ว ดับแล้ว ถึงการตั้งอยู่ไม่ได้แล้ว มีจำนวนนับไม่ได้ คือเว้นจากการนับ ด้วยอำนาจจำนวนสิบ ร้อย พัน หมื่น แสน ล้าน โกฏิ ปโกฏิ โกฏิปโกฏิ นหุต นินนหุต อักโขภินี พินทุ อัพพุทะ นิรัพพุทะ อหหะ อพพะ อฏฏะ โสคันธิกะ อุปปละ กุมุทะ ปุณฑริกะ ปทุมะ กถานะ มหากถานะ และอสังเขยยะ.<SUP>๑-</SUP>
    ____________________________
    <SUP>๑-</SUP> เป็นวิธีนับในคัมภีร์ทางศาสนา โปรดดูคำอธิบายในหนังสืออภิธานัปปทีปิกา หน้า ๑๓๔.

    พระผู้มีพระภาคเจ้า อันพระอานนทเถระทูลถามถึงอธิการที่พระองค์ผู้เป็นพระโพธิสัตว์ทรงทำไว้ ในอดีตพระพุทธเจ้าเหล่านั้น และสมภารที่พระองค์เป็นพระเจ้าจักรพรรดิทรงทำไว้ จึงตรัสคำมีอาทิว่า สมฺโพธึ พุทฺธเสฏฺฐานํ ดังนี้.
    อธิบายว่า ดูก่อนอานนท์ผู้เจริญ เธอจงฟังอปทานของเรา.
    เชื่อมความว่า ดูก่อนอานนท์ ในกาลก่อนคือในกาลบำเพ็ญโพธิสมภาร เราเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ อภิวาทด้วยเศียรเกล้าซึ่งพระสัมโพธิญาณ คือจตุสัจมรรคญาณหรือพระสัพพัญญุตญาณ ของพระพุทธเจ้าทั้งหลายผู้ประเสริฐคือผู้แทงตลอดสัจจะ ๔.
    อธิบายว่า เราเอานิ้ว ๑๐ นิ้ว คือฝ่ามือทั้งสองนมัสการ คือไหว้พระพุทธเจ้าทั้งหลายผู้เป็นนายกของโลก คือผู้เป็นใหญ่ในโลก พร้อมทั้งพระสงฆ์คือเป็นไปกับสงฆ์สาวก แล้วอภิวาทด้วยเศียรคือด้วยศีรษะ คือกระทำการสรรเสริญด้วยความเต็มใจ แล้วกระทำการนอบน้อมอยู่.
    บทว่า ยาวตา พุทฺธเขตฺเตสุ ความว่า รัตนะทั้ง ๗ มีแก้วไพฑูรย์เป็นต้นที่ตั้งอยู่ในอากาศคือที่อยู่ในอากาศ ที่ตั้งอยู่บนภาคพื้นคือที่อยู่บนพื้นของแผ่นดิน นับไม่ถ้วนคือนับไม่ได้ มีอยู่เพียงใดคือมีประมาณเท่าใด ในพุทธเขตในหมื่นจักรวาล เราเอาใจคือจิตประมวลมาซึ่งรัตนะทั้งหมดนั้น คือจักอธิษฐานจิตนำมาด้วยดี.
    อธิบายว่า เราจะกระทำให้เป็นกองรอบๆ ปราสาทของเรา.
    บทว่า ตตฺถ รูปิยภูมิยํ ความว่า นิรมิตพื้นอันสำเร็จด้วยรูปิยะคือสำเร็จด้วยเงิน ในปราสาทหลายชั้นนั้น.
    อธิบายว่า เรานิรมิตปราสาทหลายร้อยชั้นอันล้วนแล้วด้วยรัตนะ คือสำเร็จด้วยรัตนะ ๗ สูงคือพุ่งขึ้นเด่นอยู่ในท้องฟ้า คือโชติช่วงอยู่ในอากาศ.
    พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะพรรณนาปราสาทนั้นเท่านั้น จึงตรัสว่า วิจิตฺ<WBR>ต<WBR>ถมฺ<WBR>ภํ ดังนี้ เป็นต้น.
    เชื่อมความว่า ปราสาทให้ยกเสามีสีดังแก้วลายเป็นต้นมิใช่น้อย วิจิตรงดงาม ทำไว้อย่างดี คือสร้างไว้ดีถูกลักษณะ จัดแบ่งไว้เรียบร้อยโดยเป็นส่วนสูงและส่วนกว้าง ชื่อว่าควรมีค่ามาก เพราะนิรมิตเสาค่ายอันมีค่าหลายร้อยโกฏิไว้.
    ปราสาทวิเศษอย่างไรอีกบ้าง?
    คือปราสาทมีขื่ออันสำเร็จด้วยทอง ได้แก่ ประกอบด้วยขื่อและคันทวยอันทำด้วยทอง ประดับแล้ว คืองดงามด้วยนกกระเรียนและฉัตรที่ยกขึ้นในปราสาทนั้น.
    เมื่อจะทรงพรรณนาความงามของปราสาทโดยเฉพาะซ้ำอีก จึงตรัสว่า ปฐมา เวฬุริยา ภูมิ ดังนี้ เป็นต้น.
    ความว่า ปราสาทซึ่งมีพื้นหลายร้อยชั้นนั้นงดงาม คือน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เสมอเหมือนหมอก คือเช่นกับหลืบเมฆฝน ปราศจากมลทินคือไม่มีมลทิน มีสีเขียว สำเร็จด้วยแก้วไพฑูรย์. อธิบายว่า พื้นชั้นแรกดารดาษ คือสะพรั่งด้วยกอบัวและดอกปทุมที่เกิดในน้ำ งดงามด้วยกาญจนภูมิ คือพื้นทองอันประเสริฐคือสูงสุด.
    อธิบายว่า พื้นปราสาทนั้นนั่นแล บางชั้นเป็นส่วนของแก้วประพาฬ คือเป็นโกฏฐาสของแก้วประพาฬ มีสีดังแก้วประพาฬ พื้นบาง ชั้นแดง คือมีสีแดง พื้นบางชั้นงาม คือเป็นที่ดื่มด่ำใจ มีแสงสว่างดังสีแมลงค่อมทอง คือเปล่งรัศมีอยู่ พื้นบางชั้นส่องแสงไปทั้ง ๑๐ ทิศ.
    ในปราสาทนั้น มีป้อมและศิลาติดหน้ามุขที่จัดไว้ดีแล้ว คือจัดไว้เรียบร้อย มีสีหบัญชรและสีหทวารที่ทำไว้เป็นแผนกๆ ตามส่วน.
    บทว่า จตุโร เวทิกา ความว่า ที่วลัยของชุกชีและหน้าต่างมีต่าข่าย ๔ แห่ง มีพวงของหอมและช่อของหอมอันเป็นที่รื่นรมย์ใจ คือเป็นที่จับใจ ห้อยย้อยอยู่.
    ในปราสาทนั้นแหละ มีเรือนยอดประดับด้วยรัตนะ ๗ คืองดงามด้วยรัตนะ ๗. มีสีเป็นอย่างไร? คือเป็นสีเขียวคือมีสีเขียว เป็นสีเหลืองคือมีสีเหลือง ได้แก่ มีสีเหลืองทอง เป็นสีแดงคือมีสีเหมือนโลหิต ได้แก่มีสีแดง เป็นสีขาวคือมีสีขาว ได้แก่เป็นสีเศวต มีสีดำล้วนคือมีสีดำไม่มีสีอื่นเจือ.
    อธิบายว่า ปราสาทนั้นประกอบด้วยเรือนยอด คือประกอบด้วยเรือนยอดอย่างดี และด้วยเรือนยอดมีช่อฟ้าอย่างดี.
    ในปราสาทนั้นแหละ มีดอกปทุมชูดอก คือมีดอกตั้งบาน ได้แก่มีดอกปทุมบานสะพรั่งงดงาม.
    อธิบายว่า ปราสาทนั้นงดงามด้วยหมู่เนื้อร้ายมีสีหะและพยัคฆ์เป็นต้น และงดงามด้วยหมู่ปักษีมีหงส์ นกกระเรียนและนกยูงเป็นต้น.
    หมายความว่า ปราสาทนั้นสูงลิ่ว เพราะสูงจรดท้องฟ้า จึงเกลื่อนกล่นด้วยนักษัตรและดวงดาว ประดับด้วยพระจันทร์ พระอาทิตย์และรูปพระจันทร์พระอาทิตย์.
    อธิบายว่า ปราสาทของพระเจ้าจักรพรรดิหลังนั้นนั่นแหละ ดาดาษด้วยข่ายเหมคือข่ายทอง ประกอบด้วยกระดิ่งทองคือประกอบด้วยข่ายกระดิ่งทอง.
    หมายความว่า ระเบียบดอกไม้ทองคือถ่องแถวของดอกไม้ดอกเป็นที่<WBR>รื่น<WBR>รมย์<WBR>ใจ<WBR>คือเป็นที่จับใจ ย่อมเปล่งเสียง คือย่อมส่งเสียงเพราะแรงลม คือเพราะลมกระทบ.
    ปักธงซึ่งย้อมสี คือระบายด้วยสีต่างๆ คือมีสีมิใช่น้อย คือธงสีหงสบาท ได้แก่ สีฝาง สีแดงคือสีโลหิต เป็นสีเหลืองคือมีสีเหลือง และธงสีทองและสีเหลืองแก่ ได้แก่มีสีดังทองชมพูนุทและมีสีเหลืองแก่ คือปักธงสีต่างๆ ไว้ในปราสาทนั้น.
    คำว่า ธชมาลินี นี้ ท่านกล่าวโดยเป็นลิงควิปลาส. อธิบายว่า ปราสาทนั้นประกอบด้วยระเบียบธง.
    พระองค์เมื่อจะทรงพรรณนาเครื่องลาดเป็นต้นในปราสาทนั้น จึงตรัสว่า น นํ พหู ดังนี้ เป็นต้น. อธิบายว่า ปราสาทนั้นชื่อว่าจะไม่มีสิ่งของโดยมาก ย่อมไม่มีในปราสาทนั้น. ที่นอนมีเตียงและตั่งเป็นต้นวิจิตรด้วยที่นอนต่างๆ คือวิจิตรงดงามด้วยเครื่องลาดมิใช่น้อย มีจำนวนหลายร้อย คือนับได้หลายร้อย.
    มีเป็นอย่างไร? คือที่นอนเป็นแก้วผลึก ได้แก่ทำด้วยแก้วผลึก ที่สำเร็จด้วยเงินคือทำด้วยเงิน สำเร็จด้วยแก้วมณีคือทำด้วยแก้วมณีเขียว ทำด้วยทับทิม คือทำด้วยแก้วมณีรัตตชาติ สีแดงโดยกำเนิด สำเร็จด้วยแก้วลาย คือทำด้วยแก้วมณีด่าง คือเพชรตาแมว ลาดด้วยผ้ากาสีเนื้อดีคือลาดด้วยผ้ากาสีเนื้อละเอียดอ่อน.
    ผ้าห่มชื่อว่า ปาวุรา. ผ้าห่มเป็นเช่นไร? คือผ้ากัมพล ได้แก่ผ้าที่ทอด้วยผม ผ้าทุกุละได้แก่ผ้าที่ทอด้วยผ้าทุกุละ ผ้าจีนะได้แก่ผ้าที่ทอด้วยฝ้ายจีน ผ้าปัตตุณณะได้แก่ผ้าที่ทอด้วยฝ้ายอันเกิดมีในประเทศปัตตุณณะ เป็นผ้าสีเหลือง คือมีสีเหลือง.
    อธิบายว่า เราให้ปูลาดเครื่องลาดอันวิจิตร คือที่นอนทั้งหมดอันวิจิตรด้วยเครื่องลาดและผ้าห่ม มิใช่น้อยด้วยใจคือด้วยจิต.
    เมื่อจะทรงพรรณนาปราสาทนั้นโดยเฉพาะ จึงตรัสว่า ตาสุ ตาเสฺวว ภูมีสุ ดังนี้ เป็นต้น.
    บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า รตนกูฏลงฺกตํ ความว่า ประดับ คืองามด้วยยอดอันล้วนด้วยแก้ว คือช่อฟ้าแก้ว.
    บทว่า มณิเวโรจนา อุกฺกา ความว่า คบเพลิง คือประทีปมีด้ามอันกระทำด้วยแก้วมณีอันรุ่งเรือง คือแก้วมณีแดง.
    บทว่า ธารยนฺตา สุติฏฺฐเร ความว่า คนหลายร้อยยืนทรงไว้ คือถือชูไว้ในอากาศอย่างเรียบร้อย.
    เมื่อจะทรงพรรณนาปราสาทนั้นนั่นแหละซ้ำอีก จึงตรัสคำมีอาทิว่า โสภนฺติ เอสิกาถมฺภา ดังนี้. เสาที่เขาปักไว้ที่ประตูเมือง เพื่อต้องการความงาม ชื่อว่าเสาระเนียด ในคำว่า โสภนฺติ เอสิกาถมฺภา นั้น. ซุ้มประตูงามคือน่าพึงใจ เป็นซุ้มประตูทองคือสำเร็จด้วยทอง เป็นทองชมพูนุทคือล้วนแล้วด้วยทองชมพูนุท สำเร็จด้วยไม้แก่นคือทำด้วยแก่นไม้ตะเคียน และทำด้วยเงิน.
    อธิบายว่า เสาระเนียดและซุ้มประตูทำปราสาทนั้นให้งดงาม.
    อธิบายว่า ในปราสาทนั้น มีที่ต่อหลายแห่งจัดไว้เรียบร้อย วิจิตรคืองามด้วยบานประตูและกลอน เป็นวงรอบของที่ต่องดงามอยู่.
    บทว่า อุภโต ได้แก่ สองข้างปราสาทนั้น มีหม้อเต็มน้ำ ประกอบคือเต็มด้วยปทุมมิใช่น้อย และอุบลมิใช่น้อย ทำปราสาทนั้นให้งดงาม.
    ครั้นทรงพรรณนาความงามของปราสาทอย่างนี้แล้ว เมื่อจะทรงประกาศปราสาทที่ทำด้วยรัตนะ และสักการะสัมมานะ การนับถือยกย่อง จึงตรัสคำมีอาทิว่า อตีเต สพฺพพุทฺเธ จ ดังนี้.
    บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อตีเต ความว่า ในกาลอันล่วงไปแล้วคือผ่านไปแล้ว เรานิรมิตพระ<WBR>พุทธ<WBR>เจ้าผู้เป็นนายกของโลกทุกองค์ พร้อมทั้งพระสงฆ์ คือเป็นไปกับหมู่สาวกที่เกิดมีมาแล้ว และพระพุทธเจ้าพร้อมทั้งสาวกคือมีพระสาวก โดยมีวรรณ รูปโฉมและทรวดทรงตามปกติโดยสภาวะ พระพุทธเจ้าพร้อมทั้งพระสาวกทุกพระองค์ เสด็จเข้าไปยังปราสาททางประตูที่จะต้องเสด็จเข้าไป ประทับนั่งบนตั่งอันทำด้วยทองล้วนๆ คือล้วนแล้วด้วยทองทั้งหมด เป็นอริยมณฑลคือเป็นหมู่พระอริยะ.
    อธิบายว่า ในบัดนี้คือในปัจจุบัน เราได้ให้พระพุทธเจ้าผู้ยอดเยี่ยม คือไม่มีผู้ยิ่งกว่าซึ่งมีอยู่ และพระปัจเจกพุทธเจ้าหลายร้อยองค์ผู้เป็นสยัมภู คือผู้เป็นเองไม่มีคนอื่นเป็นอาจารย์ ผู้ไม่พ่ายแพ้ คือผู้อันขันธมาร กิเลสมาร อภิสังขารมาร มัจจุมารและเทวบุตรมารทำให้แพ้ไม่ได้ ผู้บรรลุชัยชนะ ให้อิ่มหนำแล้ว. พระพุทธ<WBR>เจ้าทุก<WBR>พระ<WBR>องค์ในอดีต<WBR>กาลและ<WBR>ปัจจุบัน<WBR>กาล พากันเสด็จขึ้น.
    อธิบายว่า พากันเสด็จขึ้นสู่ภพ คือปราสาทของเราอย่างดี.
    เชื่อมความว่า ต้นกัลปพฤกษ์เหล่าใดที่เป็นทิพย์คือเกิดในเทวโลกมีอยู่มาก และต้น<WBR>กัลป<WBR>พฤกษ์<WBR>เหล่าใดที่เป็นของมนุษย์ คือเกิดในมนุษย์มีอยู่เป็นอันมาก เรานำเอาผ้าทั้งหมดจากต้น<WBR>กัลป<WBR>พฤกษ์<WBR>เหล่านั้น แล้วให้ทำเป็นไตรจีวร แล้วให้พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้นครองไตรจีวร.
    ครั้นให้นุ่งห่มไตรจีวรอย่างนี้แล้ว เอาของเคี้ยวคือของอย่างใดอย่างหนึ่งมีขนมเป็นต้นที่ควรเคี้ยว อันถึงพร้อมแล้วคือมีรสอร่อย ของควรบริโภคคืออาหารที่ควรบริโภคอันอร่อย ของควรลิ้มคือของที่ควรเลียกินอันอร่อย ของควรดื่มคือน้ำปานะ ๘ อย่างที่สมบูรณ์คืออร่อย และโภชนะคืออาหารที่ควรกิน บรรจุให้เต็มที่ในบาตรมณีมัย คือทำด้วยศิลาอันงามคือดี แล้วถวายแก่พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้นผู้นั่งลงแล้ว.
    อธิบายว่า นิมนต์ให้รับเอาแล้ว.
    อริยมณฑลทั้งหมดนั้น คือหมู่พระอริยเจ้าทั้งหมดนั้น เป็นผู้มีทิพยจักษุเสมอกัน เป็นผู้เกลี้ยงเกลา อธิบายว่า เป็นผู้พรั่งพร้อมด้วยทิพยจักษุ เป็นผู้เกลี้ยงเกลาคือเป็นผู้สละสลวย คืองดงาม เพราะเว้นจากกิเลสทั้งปวง ครองจีวรคือเป็นผู้พรั่งพร้อมกันด้วยไตรจีวร เป็นผู้อันเราให้อิ่มหนำสำราญบริบูรณ์ด้วยของหวาน น้ำตาลกรวด น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อยและข้าวชั้นดี.
    หมู่พระอริยเจ้าเหล่านั้นอันเราให้อิ่มหนำอย่างนี้แล้ว เข้าสู่ห้องแก้วคือเรือนมีห้องอันนิรมิตด้วยรัตนะทั้ง ๗ แล้วสำเร็จสีหไสยาบนที่นอนอันมีค่ามาก คือบนเตียงอันหาค่ามิได้ ดุจไกรสรราชสีห์มีถ้ำเป็นที่อยู่อาศัย คือนอนอยู่ในถ้ำฉะนั้น.
    อธิบายว่า สีหมฤคราชนอนตะแคงข้างขวา ซ้อนเท้าเหลื่อมเท้า เอาเท้าขวาทำเป็นที่หนุนศีรษะ วางเท้าซ้ายทอดไปตรงๆ เอาหางซุกไว้ในระหว่างหัวไส้แล้วนิ่งๆ ฉันใด หมู่พระอริยเจ้าทั้งหลายก็สำเร็จคือกระทำการนอนฉันนั้น.
    อธิบายความว่า หมู่พระอริยเจ้าเหล่านั้น ครั้นสำเร็จสีหไสยาอย่างนี้แล้ว รู้ตัวอยู่คือสมบูรณ์ด้วยสติสัมปชัญญะ ลุกขึ้นแล้วคือลุกขึ้นอย่างเรียบร้อย แล้วคู้บัลลังก์บนที่นอน คือทำการนั่งทำขาอ่อนให้แนบติดกันไป.
    บทว่า โคจรํ สพฺพพุทฺธานํ ความว่า เป็นผู้เพียบพร้อมด้วยความยินดีในฌาน คือเป็นผู้พรั่งพร้อมด้วยความยินดีในฌาน อันเป็น โคจร คืออารมณ์ของพระพุทธเจ้าทั้งปวงทั้งที่ล่วงไปแล้วและที่ยังไม่มา.
    บทว่า อญฺเญ ธมฺมานิ เทเสนฺติ ความว่า บรรดาพระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้น พระปัจเจกพุทธเจ้าพวกหนึ่ง คือบางพวกแสดงธรรม อีกพวกหนึ่งเล่นคือรื่นรมย์ด้วยฤทธิ์ คือด้วยการเล่นฌานมีปฐมฌานเป็นต้น.
    ความอธิบายต่อไปว่า บางพวกอบรมอภิญญา คืออภิญญา ๕ ให้เชี่ยวชาญคือทำให้ชำนาญ คือบรรดาอภิญญา ๕ ย่อมถึงคือเข้า อภิญญาอันไปคือถึง บรรลุความชำนาญด้วยความชำนาญ ๕ ประการ กล่าวคือการนึก การเข้า การออก การหยุดยืนและการพิจารณา. บางพวกแผลงฤทธิ์ คือทำการแผลงฤทธิ์ให้เป็นหลายพันคน ได้แก่แผลงฤทธิ์มีอาทิอย่างนี้ คือแม้คนเดียวทำให้เป็นหลายคน แม้หลายคนทำให้เป็นคนเดียวก็ได้.
    บทว่า พุทฺธาปิ พุทฺเธ ความว่า เมื่อพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายประชุมกันอย่างนี้แล้ว พระพุทธเจ้าทั้งหลายย่อมถามพระพุทธเจ้าทั้งหลายถึงปัญหาอันเป็นวิสัย คือเป็นอารมณ์ของพระสัพพัญญุตญาณ พระพุทธเจ้าเหล่านั้นย่อมตรัสรู้แจ้งจริง คือตรัสรู้โดยพิเศษไม่มีส่วนเหลือ ซึ่ง<WBR>ฐานะ<WBR>คือเหตุ ที่ชื่อว่าลึกซึ้ง เพราะลึกซึ้งโดยอรรถอันละเอียดคือสุขุมด้วยพระปัญญา.
    ในกาลนั้น แม้พระสาวกทั้งหลายผู้ประชุมกันอยู่ในปราสาทของเรา ย่อมถามปัญหากะพระพุทธเจ้าทั้งหลาย และพระพุทธเจ้าทั้งหลายก็ถามปัญหากะสาวกคือศิษย์ทั้งหลาย พระพุทธเจ้าและพระสาวกเหล่านั้น ต่างถามปัญหากันและกัน ต่างพยากรณ์คือแก้ปัญหากันและกัน.
    เมื่อจะทรงแสดงพระพุทธเจ้าทั้งหมดนั้น โดยมีภาวะเป็นอย่างเดียวกันอีก จึงตรัสคำมีอาทิว่า พุทฺธา ปจฺเจกพุทฺธา จ ดังนี้.
    ในคำนั้นมีอธิบายว่า พระพุทธเจ้าได้แก่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระสาวกคือศิษย์ และผู้ปรนนิบัติคือนิสิต ทั้งหมดนี้ยินดีอยู่ด้วยความยินดีของตนๆ เร้นอยู่ ย่อม<WBR>อภิรมย์<WBR>อยู่ในปราสาท<WBR>ของเรา.
    พระเจ้าติโลกวิชัยจักรพรรดิราชนั้น ครั้นทรงแสดงอาจารสมบัติของพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย ในเวช<WBR>ยันต<WBR>ปราสาท<WBR>ของ<WBR>พระ<WBR>องค์อย่างนี้แล้ว บัดนี้ เมื่อจะทรงแสดงอานุภาพของพระองค์ จึงตรัสคำมีอาทิว่า ฉตฺตา ติฏฺฐนฺติ รตนา ดังนี้.
    ในคำนั้น มีอธิบายว่า ฉัตรแก้วอันล้วนแล้วไปด้วยแก้ว ๗ ประการ มีพวงมาลัยทองเป็นทิวแถว คือห้อยตาข่ายทองอยู่ประจำ. ฉัตรทั้งหลายวงด้วยข่ายแก้วมุกดาคือล้อมด้วยข่ายแก้วมุกดา เพียงแต่คิดว่า ฉัตรทุกชนิดจงกั้นอยู่เหนือกระหม่อมคือศีรษะเรา ก็ย่อมปรากฏขึ้น.
    เพดานผ้าวิจิตรด้วยดาวทอง คือแวววาวด้วยดาวทองจงมีคือจงบังเกิดขึ้น.
    อธิบายว่า เพดานมิใช่น้อยทุกชนิด วิจิตรคือมีสีหลายอย่าง ดาษด้วยมาลัยคือแผ่ไปด้วยดอกไม้ จงกั้นอยู่เหนือกระหม่อม คือส่วนเบื้องบนแห่งที่เป็นที่นั่ง.
    เชื่อมความว่า สระโบกขรณีดาดาษคือกลาดเกลื่อนด้วยพวงดอกไม้คือพวงของหอมและดอกไม้หลายอย่าง งดงามด้วยพวงของหอม คือพวงสุคนธชาติมีจันทน์ หญ้าฝรั่นและกฤษณาเป็นต้น.
    อธิบายว่า สระโบกขรณีเกลื่อนกล่นด้วยพวงผ้าคือพวงผ้าอันหาค่ามิได้ มีผ้าปัตตุณณะและผ้าจีนะเป็นต้น ประดับตกแต่งด้วยพวงรัตนะทั้ง ๗. ดาดาษด้วยดอกไม้ คือ<WBR>ดา<WBR>ดาษ<WBR>ด้วย<WBR>ดอก<WBR>ไม้<WBR>หอม<WBR>มีจำปา สฬละและจงกลนีเป็นต้น วิจิตรงดงามด้วยดี.
    สระโบกขรณีมีอะไรอีกบ้าง?
    คือสระโบกขรณีอบอวลด้วยสุคนธชาติอันมีกลิ่นหอมน่าพอใจยิ่ง. เจิมด้วยของหอมไว้โดยรอบคือประดับด้วยของหอมที่เอานิ้วทั้ง ๕ ไล้ทาไว้ สระโบกขรณีอันมีอยู่ในทิศทั้ง ๔ ของปราสาท มุงด้วยเครื่องมุงเหมคือมุงด้วยเครื่องมุงอันเป็นทองและเพดานทอง ดาดาษแผ่เต็มไปด้วยปทุมและอุบล ปรากฏเป็นสีทองในรูปทอง สระโบกขรณีฟุ้งไปด้วยละอองเรณูของดอกปทุม คือขจรขจายไปด้วยละออง<WBR>ธุลี<WBR>ของ<WBR>ดอก<WBR>ปทุม งดงามอยู่.
    รอบๆ เวชยันตปราสาทของเรามีต้นไม้มีต้นจำปาเป็นต้นออกดอกทุกต้น นี้เป็นต้นไม้ดอก. ดอกไม้ทั้งหลายหล่นมาเองแล้ว<WBR>ลอย<WBR>ไป<WBR>โปรย<WBR>ปราสาท. อธิบายว่า โปรยลงเบื้องบนปราสาท.
    มีอธิบายว่า ในเวชยันตปราสาทของเรานั้น มีนกยูงฟ้อน มีหมู่หงส์ทิพย์ คือหงส์เทวดาส่งเสียงร้อง หมู่นกการวิกคือโกกิลาที่มีเสียงเพราะขับขาน คือทำการขับร้อง และหมู่นกอื่นๆ ที่ไม่สำคัญก็ร่ำร้องด้วยเสียงอันไพเราะอยู่โดยรอบปราสาท.
    รอบๆ ปราสาท มีกลองขึงหนังหน้าเดียวและกลองขึงหนังสองหน้าเป็นต้นทั้งหมดได้ดังขึ้นคือได้ตีขึ้น พิณนั้นทั้งหมดซึ่งมีสายมิใช่น้อย ได้ดีดขึ้นคือส่งเสียง. สังคีตทุกชนิดคือเป็นอเนกประการ จงเป็นไปคือจงบรรเลง. อธิบายว่า จงขับขานขึ้น.
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ในพุทธเขตมีกำหนดเพียงใดคือในที่มีประมาณเท่าใด ได้แก่ในหมื่นจักร<WBR>วาลและในจักร<WBR>วาลอื่นจากหมื่นจักรวาลนั้น บัลลังก์ทองสมบูรณ์ด้วยความโชติช่วงคือสมบูรณ์ด้วยรัศมี ไม่มีช่องว่าง ใหญ่โต สำเร็จด้วยรัตนะทั่วทุกด้าน คือเขาทำขจิตด้วยรัตนะทั้ง ๗ จงตั้งอยู่ ต้นไม้<WBR>ประดับ<WBR>ประทีปคือต้นไม้มีน้ำมันตามประทีปจงลุกเป็นไฟโพลงอยู่ คือสว่างด้วยประทีปรอบๆ ปราสาท. เป็นไม้ประทีปติดต่อกันไปเป็นหมื่นดวง คือเป็นหมื่นดวงติดต่อกันกับหมื่น<WBR>ดวง จงเป็นประทีป<WBR>รุ่งเรืองเป็นอันเดียวกัน คือเป็นประดุจประทีปดวงเดียวกัน. อธิบายว่า จงลุกโพลง.
    หญิงคณิกาคือหญิงฟ้อนผู้ฉลาดในการฟ้อนและการขับ หญิงขับร้องคือผู้ทำเสียงด้วยปาก จงฟ้อนไปรอบๆ ปราสาท. หมู่นางอัปสรคือหมู่หญิงเทวดา จงฟ้อนรำ. สนามเต้นรำต่างๆ คือมณฑลสนามเต้นรำต่างๆ มีสีเป็นอเนกประการ จงฟ้อนรำรอบๆ ปราสาท ชื่อว่าเขาเห็นกันทั่วไป. อธิบายว่า จงปรากฏ.
    อธิบายว่า ในครั้งนั้น เราเป็นพระเจ้าจักรพรรดินามว่าติโลกวิชัย ให้ยกธงทั้งปวงมี ๕ สี คือมีสี ๕ สีมีสีเขียวและสีเหลืองเป็นต้น วิจิตรคืองดงามด้วยสีหลายหลาก บนยอดไม้ บนยอดเขา คือยอดเขาหิมพานต์และเขาจักรวาลเป็นต้น บนยอดเขาสิเนรุและในที่ทั้งปวง ใน<WBR>จักร<WBR>วาลทั้งสิ้น.
    อธิบายว่า พวกคนคือคนจากโลกอื่น พวกนาคจากโลกนาค พวกคนธรรพ์และเทวดาจากเทวโลก ทั้งหมดจงมาคือจงเข้ามา. พวกคนเป็นต้นเหล่านั้นนมัสการคือทำการนอบน้อมเรา กระทำอัญชลีคือทำกระพุ่มมือ แวดล้อมเวชยันตปราสาทของเรา.
    พระเจ้าจักรพรรดิติโลกวิชัยนั้น ครั้นพรรณนาอานุภาพปราสาทและ<WBR>อานุ<WBR>ภาพ<WBR>ของ<WBR>ตนอย่างนี้แล้ว บัดนี้ เมื่อจะให้ถือเอาผลบุญที่ตนทำไว้ด้วยสมบัติ จึงกล่าวคำมีอาทิว่า ยํ กิญฺจิ กุสลํ กมฺมํ ดังนี้.
    อธิบายว่า กิริยากล่าวคือกุศลกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งที่จะพึงกระทำมีอยู่ กุศลกรรมที่จะพึงทำทั้งหมดนั้น เราทำแล้วด้วยกาย วาจาและใจ คือด้วยไตรทวาร ให้เป็นอันทำดีแล้วคือให้เป็นอันทำด้วยดีแล้วในไตรทศ. อธิบายว่า กระทำให้ควรแก่การเกิดขึ้นในภพดาวดึงส์.
    เมื่อจะให้ถือเอาอีกจึงกล่าวว่า เย สตฺตา สญฺญิโน ดังนี้เป็นต้น
    ในคำนั้นมีอธิบายว่า สัตว์เหล่าใดจะเป็นมนุษย์ เทวดาหรือพรหมก็ตาม ที่มีสัญญาคือประกอบด้วยสัญญามีอยู่ และสัตว์เหล่าใดที่ไม่มีสัญญาคือเว้นจากสัญญา ได้แก่สัตว์ผู้ไม่มีสัญญาย่อมมีอยู่ สัตว์เหล่านั้นทั้งหมดจงเป็นผู้มีส่วนบุญที่เรากระทำแล้ว คือจงเป็นผู้มีบุญ.
    พระโพธิสัตว์เมื่อจะให้ถือเอาแม้อีก จึงกล่าวคำมีอาทิว่า เยสํ กตํ ดังนี้.
    อธิบายว่า บุญที่เราทำแล้วอันชน นาค คนธรรพ์และเทพเหล่าใด รู้ดีแล้วคือทราบแล้ว เราให้ผลบุญแก่นรชนเป็นต้นเหล่านั้น นรชนเป็นต้นเหล่าใด ไม่รู้ว่าเราให้บุญที่เราทำแล้วนั้น เทพทั้งหลายจงไปแจ้งให้รู้.
    อธิบายว่า จงบอกผลบุญนั้นแก่นรชนเป็นต้นเหล่านั้น.
    สัตว์เหล่าใดในโลกทั้งปวงผู้อาศัยอาหารเลี้ยงชีวิต สัตว์เหล่านั้นทั้งหมดจงได้โภชนะอันพึงใจทุกอย่างด้วยใจของเรา คือด้วยจิตของเรา. อธิบายว่า จงได้ด้วยบุญฤทธิ์ของเรา.
    ทานใดเราได้ให้แล้ว ด้วยจิตใจอันเลื่อมใส เรานำมาแล้ว คือยังความ<WBR>เลื่อม<WBR>ใส<WBR>ให้เกิดขึ้นแล้ว ในทานนั้นด้วยจิตใจ. พระสัม<WBR>พุทธ<WBR>เจ้าทุกพระ<WBR>องค์ พระ<WBR>ปัจเจก<WBR>สัม<WBR>พุทธ<WBR>เจ้า และพระสาวก<WBR>ของพระชินเจ้า เราผู้เป็นพระเจ้าจักร<WBR>พรรดิได้บูชาแล้ว.
    ด้วยกรรมที่เราทำดีแล้วนั้น คือด้วยกุศลกรรมที่เราเชื่อแล้วกระทำไว้ และด้วยการตั้งเจตนาไว้ คือด้วยความปรารถนาที่ทำไว้ด้วยใจ เราละคือทิ้งร่างกายมนุษย์ ได้แก่สรีระของมนุษย์ แล้วได้ไปสู่ดาวดึงสเทวโลก.
    อธิบายว่า เราได้เกิดขึ้นในดาวดึงสเทวโลกนั้น เหมือนหลับแล้วตื่นขึ้นฉะนั้น.
    แต่นั้น พระเจ้าจักรพรรดิติโลกวิชัยได้สวรรคตแล้ว จำเดิมแต่นั้น เรารู้จักภพ ๒ ภพ คือชาติ ๒ ชาติที่มาถึง คือความเป็นเทวดา ได้แก่อัตภาพของเทวดา และความเป็นมนุษย์ คืออัตภาพของมนุษย์. นอกจาก ๒ ชาติ เราไม่รู้จัก คือไม่เห็นคติอื่น คือความอุปบัติอื่น อันเป็นผลแห่งความปรารถนาด้วยใจคือด้วยจิต.
    อธิบายว่า เป็นผลแห่งความปรารถนาที่เราปรารถนาแล้ว.
    บทว่า เทวานํ อธิโก โหมิ ความว่า ถ้าเกิดในเทวดา เราได้เป็นผู้ยิ่งคือเป็นใหญ่ ได้แก่เป็นผู้ประเสริฐสุดกว่าเทวดาทั้งหลาย ด้วยอายุ วรรณะ พละและเดช. ถ้าเกิดในมนุษย์ เราย่อมเป็นใหญ่ในมนุษย์ คือเป็นอธิบดี เป็นใหญ่กว่ามนุษย์ทั้งหลาย. อนึ่ง เราเป็นพระราชาผู้เพียบพร้อม คือสมบูรณ์ด้วยรูปอันยิ่ง คือด้วยรูปสมบัติ และด้วยลักษณะ คือลักษณะส่วนสูงและส่วนใหญ่ ไม่มีผู้เสมอ คือเว้นคนผู้เสมอด้วยปัญญา ได้แก่ปัญญาเครื่องรู้ปรมัตถ์ในภพที่เกิดแล้วๆ. อธิบายว่า ไม่มีใครๆ เสมอเหมือนเรา.
    เพราะผลบุญอันเป็นบุญสมภารที่เรากระทำไว้แล้ว โภชนะอันประเสริฐอร่อยมีหลายอย่างคือมีประการต่างๆ รัตนะทั้ง ๗ มากมายมีประมาณไม่น้อย และผ้าปัตตุณณะและผ้าโกเสยยะเป็นต้นหลายชนิด คือเป็นอเนกประการ จากฟากฟ้าคือนภากาศมา คือเข้ามาหาเรา ได้แก่สำนักเราโดยเร็วพลัน ในภพที่เกิดแล้วๆ.
    เราเหยียดคือชี้มือไปยังที่ใดๆ จะเป็นที่แผ่นดิน บนภูเขา บนอากาศ ในน้ำและในป่า ภักษาทิพย์คืออาหารทิพย์ย่อมเข้ามา คือ เข้ามาหาเรา ได้แก่สำนักเราจากที่นั้นๆ. อธิบายว่า ย่อมปรากฏขึ้น.
    อนึ่ง รัตนะทั้งปวง ของหอมมีจันทน์เป็นต้นทุกอย่าง ยานคือพาหนะทุกชนิด มาลาคือดอกไม้ทั้งหมดมีจำปา กากะทิงและบุนนาคเป็นต้น เครื่องอลังการคือเครื่องอาภรณ์ทุกชนิด นางทิพกัญญาทุกนาง น้ำผึ้งและน้ำตาลกรวดทุกอย่าง ของเคี้ยวคือของควรเคี้ยวมีขนมเป็นต้นทุกชนิด ย่อมเข้ามาคือย่อมเข้ามาหาเราคือ<WBR>สำนัก<WBR>เราโดยลำดับ.
    บทว่า สมฺโพธิวรปตฺติยา แปลว่า เพื่อต้องการบรรลุมรรคญาณทั้ง ๔ อันสูงสุด. อธิบายว่า เราได้กระทำ คือบำเพ็ญอุดมทานใด เพราะอุดมทานนั้น เรากระทำภูเขาหินให้บันลือเป็นอันเดียวกันทั้งสิ้น ให้กระหึ่มเสียงดัง คือเสียงกึกก้องมากมาย ยังโลกพร้อมทั้งเทวโลก ได้แก่มนุษยโลกและเทวโลกทั้งสิ้นให้ร่าเริง คือทำให้ถึงความโสมนัส จะได้เป็นพระพุทธเจ้าผู้มีกิเลสดุจหลังคาอันเปิดแล้วในโลก คือในสกลโลกทั้ง ๓.
    บทว่า ทิสา ทสวิธา โลเก ความว่า ในจักรวาลโลกมีทิศอยู่ ๑๐ อย่าง คือ ๑๐ ส่วน ที่สุดย่อมไม่มีแก่ผู้ไป คือผู้ดำเนินไปอยู่ในส่วนนั้น.
    ครั้งเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ในที่ที่เราไปแล้วๆ หรือในทิศาภาคนั้น มีพุทธ<WBR>เขต<WBR>คือ<WBR>พุทธ<WBR>วิสัยนับไม่ถ้วนคือยกเว้นการนับ.
    บทว่า ปภา ปกิตฺติตา ความว่า ในกาลเป็นพระเจ้าจักร<WBR>พรรดิ ครั้งนั้น รัศมีของเรา รัศมีคือแสงสว่างของจักรแก้ว และแก้วมณีเป็นต้นนำรัศมีมา คือเปล่งรัศมีเป็นคู่ๆ ปรากฏแล้ว ในระหว่างนี้ คือในระหว่างหมื่นจักรวาล มีข่ายคือหมู่รัศมีได้มีแสงสว่างกว้างขวาง คือมากมาย.
    บทว่า เอตฺตเก โลกธาตุมฺหิ ความว่า ในหมื่นจักรวาล ชนทั้งปวงย่อมดู คือเห็นเรา. เทวดาทั้งปวงจนกระทั่งเทวโลกจงอนุวรรตน์ตาม คือเกื้อกูลเรา.
    บทว่า วิสิฏฺฐมธุนาเทน แปลว่า ด้วยเสียงบันลืออันไพเราะสละสลวย.
    บทว่า อมตเภริมาหนึ แปลว่า เราตีกลองอมตเภรี ได้แก่กลองอันประเสริฐ.
    ชนทั้งปวงในระหว่างนี้ คือระหว่างหมื่นจักรวาลนี้จงฟัง คือจงใส่ใจวาจาที่เปล่งคือเสียงอันไพเราะของเรา.
    เมื่อฝนคือธรรมตกลง คือเมื่อฝนมีอรรถอันเป็นปรมัตถ์ ลึกซึ้ง ไพเราะ สุขุม อันเป็นโวหารของพระธรรมเทศนานั้น ตกลงมาด้วยการบันลืออันล้วนแล้วด้วยพระธรรมเทศนา ภิกษุและภิกษุณีเป็นต้นทั้งหมดจงเป็นผู้ไม่มีอาสวะคือไม่มีกิเลส ด้วยอานุภาพของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า.
    บทว่า เยตฺถ ปจฺฉิมกา สตฺตา มีอธิบายว่า บรรดาสัตว์คือบริษัท ๔ อันเป็นหมวดหมู่นี้ สัตว์เหล่าใดเป็นปัจฉิมกสัตว์ คือเป็นผู้ต่ำสุดด้วยอำนาจคุณความดี สัตว์เหล่านั้นทั้งหมดจงเป็นพระโสดาบัน.
    ในคราวเป็นพระเจ้าจักรพรรดิโลกวิชัยนั้น เราได้ให้ทานที่ควรให้ บำเพ็ญศีลบารมีโดยไม่เหลือ บรรลุถึงบารมี คือที่สุดในเนกขัมคือเนกขัมมบารมี พึงเป็นผู้บรรลุพระสัมโพธิญาณอันสูงสุด คือมรรคญาณทั้ง ๔.
    เราสอบถามบัณฑิต คือนักปราชญ์ผู้มีปัญญา คือถามว่า ท่านผู้เจริญ อะไรควรทำ อะไรไม่ควรทำ อะไรเป็นกุศล อะไรเป็นอกุศล คนทำอะไรจึงจะเป็นผู้มีส่วนแห่งสวรรค์และนิพพานทั้งสอง.
    อธิบายว่า บำเพ็ญปัญญาบารมี ด้วยประการอย่างนี้.
    บทว่า กตฺวา วีริยมุตฺตมํ ได้แก่ กระทำความเพียรอันสูงสุด คือประเสริฐสุด ได้แก่ไม่ขาดตอน ในการยืนและการนั่งเป็นต้น.
    อธิบายว่า บำเพ็ญวิริยบารมี. เราถึงบารมีคือที่สุดแห่งอธิวาสนขันติที่คนร้ายทั้งสิ้นไม่ทำความเอื้อเฟื้อ คือได้บำเพ็ญขันติบารมีแล้ว พึงบรรลุพระโพธิ<WBR>ญาณ<WBR>อันสูงสุด คือความเป็นพระ<WBR>พุทธ<WBR>เจ้า<WBR>อันอุดม.
    บทว่า กตฺวา ทฬฺหมธิฏฺฐานํ ความว่า เรากระทำอธิษฐานบารมีมั่นโดยไม่หวั่นไหวว่า แม้เมื่อสรีระและชีวิตของเราจะพินาศไป เราจักไม่งดเว้นบุญกรรม บำเพ็ญที่สุดแห่งสัจบารมีว่า แม้เมื่อศีรษะจะขาด เราจักไม่กล่าวมุสาวาท ถึงที่สุดแห่งเมตตาบารมี โดยนัยมีอาทิว่า สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงเป็นผู้มีความสุข ไม่มีโรคป่วยไข้ แล้วบรรลุพระ<WBR>สัม<WBR>โพธิ<WBR>ญาณอันสูงสุด.
    เราเป็นผู้เสมอ คือมีใจเสมอในอารมณ์ทั้งปวง คือในการได้สิ่งมีชีวิตและสิ่งที่ไม่มีชีวิต ในการไม่ได้สิ่งเหล่านั้น ในสุขทางกายและทางใจ ในทุกข์เช่นนั้นคือที่เป็นไปทางกายและทางใจ ในการยกย่องที่ชนผู้มีความเอื้อเฟื้อกระทำ และในการดูหมิ่น บำเพ็ญอุเบกขาบารมี บรรลุแล้ว. อธิบายว่า พึงบรรลุพระสัมโพธิญาณอันสูงสุด.
    ท่านทั้งหลายจงเห็นคือรู้ความเกียจคร้านคือความเป็นผู้เกียจคร้าน โดยความเป็นภัย คือโดยอำนาจว่าเป็นภัยว่า มีส่วนแห่งอบายทุกข์ เห็นคือรู้ความไม่เกียจคร้าน คือความเป็นผู้ไม่เกียจคร้าน ความประพฤติอันไม่หดหู่ ชื่อว่าความเพียรโดยความเกษม คือโดยอำนาจความเกษมว่า มีปกติให้ไปสู่นิพพาน แล้วจงเป็นผู้ปรารภความเพียร. นี้เป็นพุทธานุสาสนีคือนี้เป็นความพร่ำสอนของพระพุทธเจ้า.
    บทว่า วิวาทํ ภยโต ทิสฺวา ความว่า ท่านทั้งหลายจงเห็นความวิวาท คือการทะเลาะโดยความเป็นภัย เห็นคือรู้ว่า ความวิวาทมีส่วนแห่งอบาย และเห็นคือรู้ความไม่วิวาท คือความงดเว้นจากการวิวาทว่าเป็นเหตุให้บรรลุพระนิพพาน แล้วจงเป็นผู้สมัครสมานกัน คือมีจิตมีอารมณ์เลิศเป็นอันเดียว เป็นผู้มีวาจาอ่อนหวาน คือสละสลวย งดงามด้วยเมตตาอันดำเนินไปในธุระหน้าที่. กถาคือการเจรจา การกล่าวนี้เป็นอนุสาสนีคือเป็นการให้โอวาทของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย.
    ท่านทั้งหลายจงเห็น คือจงรู้ความประมาท คือการอยู่โดยปราศจากสติ ในการยืนและการนั่งเป็นต้น โดยความเป็นภัยว่า เป็นเหตุให้เป็นไปเพื่อความทุกข์ ความเป็นผู้มีรูปชั่วและความเป็นผู้มีข้าวน้ำน้อยเป็นต้น และเป็นเหตุให้ไปสู่อบายเป็นต้น ในสถานที่เกิดแล้วๆ แล้วจงเห็นคือจงรู้อย่างชัดแจ้งถึงความไม่ประมาท คือการอยู่ด้วยสติในอิริยาบถทั้งปวง โดยเป็นความเกษม คือโดยความเจริญว่า เป็นเหตุเครื่องบรรลุพระนิพพาน แล้วจงอบรม คือจงเจริญ จงใส่ใจถึงมรรคมีองค์ ๘ คือมรรค ได้แก่อุบายเครื่องบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ อันมีองค์ประกอบ ๘ อย่าง คือสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติและสัมมาสมาธิ.
    กถาคือการกล่าว ได้แก่การเจรจา การเปล่งวาจา นี้เป็นพุทธานุสาสนี. อธิบายว่า เป็นความพร่ำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย.
    บทว่า สมาคตา พหู พุทฺธา ความว่า พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายนับได้หลายแสนมาพร้อมกันแล้ว คือเป็นผู้ประชุมกันแล้ว และพระอรหันตขีณาสพทั้งหลายมาพร้อมกันแล้ว คือเป็นผู้ประชุมกันแล้วโดยประการทั้งปวง ได้แก่โดยประการทั้งปวง เพราะฉะนั้น ท่านทั้งหลายจง<WBR>นอบ<WBR>น้อม คือจง<WBR>นมัส<WBR>การ<WBR>กราบ<WBR>ไหว้ ด้วยการกระทำความ<WBR>นอบ<WBR>น้อม<WBR>ด้วย<WBR>อวัยวะน้อยใหญ่ ซึ่งพระ<WBR>พุทธ<WBR>เจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลายนั้นผู้ควรแก่การ<WBR>กราบ<WBR>ไหว้.
    ด้วยประการฉะนี้ คือด้วยประการดังเรากล่าวมาแล้วนี้ พระ<WBR>พุทธ<WBR>เจ้าทั้งหลายเป็นอจินไตย คือใครๆ ไม่พึงอาจเพื่อจะคิด.
    ธรรมทั้งหลายมีอาทิ คือสติปัฏฐาน ๔ ฯลฯ มรรคมีองค์ ๘ ขันธ์ ๕ เหตุ<WBR>ปัจจัย อา<WBR>รัม<WBR>ม<WBR>ณ<WBR>ปัจ<WBR>จัย<WBR>เป็นต้น ชื่อว่าพุทธ<WBR>ธรรม.
    อีกอย่างหนึ่ง สภาวะแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นอจินไตย คือใครๆ ไม่อาจเพื่อจะคิดวิบาก กล่าวคือเทวสมบัติ มนุษย์สมบัติ และนิพพานสมบัติ ของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายผู้เลื่อมใสในสิ่งที่เป็นอจินไตย คือในสิ่งที่พ้นจากวิสัยของการคิด ย่อมเป็นอันใครๆ ไม่อาจคิด คือล่วงพ้นจากการที่จะนับจำนวน.
    ก็ด้วยลำดับคำมีประมาณเท่านี้ อุปมาเหมือนคนเดินทาง เมื่อใครๆ ถูกเขาถามว่าขอจงบอกทางแก่เรา ก็บอกว่าจงละทางซ้ายถือเอาทางขวา ดังนี้แล้วก็ทำกิจที่ควรทำในคามนิคมและ<WBR>ราช<WBR>ธานีให้สำเร็จโดยทางนั้น แม้จะไปใหม่อีกตามทางซ้ายมือสายอื่นที่เขาไม่ได้เดินกัน ก็ย่อมทำกิจที่ควรทำในคามและนิคมเป็นต้นให้สำเร็จได้ฉันใด พุทธาปทานก็ฉันนั้นเหมือนกัน.
    ครั้นให้สำเร็จได้ด้วยอปทานที่เป็นฝ่ายกุศลแล้ว เพื่อที่จะให้พุทธาปทานนั้นนั่นแลพิสดารออกไป ด้วยอำนาจอปทานที่เป็นฝ่ายอกุศลบ้าง จึงตั้งหัวข้อปัญหาไว้ดังนี้ว่า
    <TABLE class=D cellSpacing=0 border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD><TD>ทุกฺกรญฺจ อพฺภกฺขานํ <TD>อพฺภกฺขานํ ปุนาปรํ <TR vAlign=top><TD><TD>อพฺภกฺขานํ สิลาเวโธ <TD>สกลิกาปิ จ เวทนา ฯ <TR vAlign=top><TD><TD>นาฬาคิริ สตฺตจฺเฉโท <TD>สีสทุกฺขํ ยวขาทนํ <TR vAlign=top><TD><TD>ปิฏฺฐิทุกฺขมตีสาโร <TD>อิเม อกุสลการณาติ ฯ</TD></TR></TBODY></TABLE>การทำทุกรกิริยา ๑ การกล่าวโทษ ๑ การด่าว่า ๑ การกล่าวหา ๑
    การถูกศิลากระทบ ๑ การเสวยเวทนาจากสะเก็ดหิน ๑ การปล่อย
    ช้างนาฬาคิรี ๑ การถูกผ่าตัดด้วยศาสตรา ๑ การปวดศีรษะ ๑
    การกินข้าวแดง ๑ ความเจ็บปวดสาหัสที่กลางหลัง ๑ การลงโลหิต ๑
    เหล่านี้เป็นเหตุฝ่ายอกุศล.
    บรรดาข้อปัญหาเหล่านั้น ปัญหาข้อที่ ๑ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้
    การทำทุกรกิริยาอยู่ถึง ๖ พรรษา ชื่อว่าทำทุกรกิริยา.
    ในกาลแห่งพระกัสสปสัมมาสัมพุทธเจ้าในอดีต พระโพธิสัตว์บังเกิดเป็นพราหมณ์<WBR>มาณพ<WBR>ชื่อว่า<WBR>โชติ<WBR>ปาละ โดยที่เป็นชาติพราหมณ์จึงไม่เลื่อมใสในพระศาสนา เพราะวิบากของกรรมเก่าแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้า<WBR>พระ<WBR>องค์<WBR>นั้น เขาได้ฟังว่า พระผู้มีพระภาคเจ้ากัสสปะ จึงได้กล่าวว่า การตรัสรู้ของสมณะโล้นจักมีมาแต่ที่ไหน การตรัสรู้เป็นของที่ได้โดยยากยิ่ง.
    เพราะวิบากของกรรมนั้น พระโพธิสัตว์นั้นจึงได้เสวยทุกข์มีนรกเป็นต้นหลายร้อยชาติ ถัดมาจากพระผู้มีพระภาคเจ้า<WBR>พระ<WBR>องค์<WBR>นั้น<WBR>นั่นแหละ เขาทำชาติสงสารให้สิ้นไปด้วยกรรมที่ได้พยากรณ์ไว้นั้นนั่นแล ในตอนสุดท้ายได้อัตภาพเป็นพระเวสสันดร จุติจากอัตภาพนั้นแล้วบังเกิดในภพดุสิต. จุติจากภพดุสิตนั้นด้วยการอาราธนาของเหล่าเทวดา บังเกิดในสักยตระกูล เพราะญาณแก่กล้าจึงละทิ้งราชสมบัติในสกลชมพูทวีปเสีย แล้วตัดกำพระเกศาให้มีปลายเสมอกัน ด้วยดาบที่ลับไว้อย่างดี ที่ฝั่งแม่น้ำอโนมานที รับบริขาร ๘ อันสำเร็จด้วยฤทธิ์ซึ่งเกิดในกลีบปทุม ในเวลาที่กัปยังตั้งอยู่ซึ่งพระพรหมนำมาให้แล้วบรรพชา เพราะญาณทัสสนะคือพระโพธิญาณยังไม่แก่กล้าก่อน จึงไม่รู้จักทางและมิใช่ทางแห่งความเป็นพระพุทธเจ้า เป็นผู้มีสรีระเช่นกับเปรตผู้ไม่มีเนื้อและเลือด เหลือแต่กระดูก หนังและเอ็น ด้วยอำนาจที่บริโภคอาหารมื้อเดียว คำเดียว เป็นผู้เดียว ทางเดียว และนั่งผู้เดียว บำเพ็ญทุกรกิริยามหาปธานความเพียรใหญ่ โดยนัยดังกล่าวไว้ในปธานสูตรนั่นแล ณ อุรุเวลาชนบทถึง ๖ พรรษา.
    พระโพธิสัตว์นั้นนึกถึงทุกรกิริยานี้ว่า ไม่เป็นทางแห่งการตรัสรู้ จึงกลับเสวยอาหารประณีตในคาม นิคมและราชธานี มีอินทรีย์ผ่องใส มีมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ครบบริบูรณ์ เสด็จเข้าไปยังโพธิมัณฑ์โดยลำดับ ชนะมารทั้ง ๕ ได้เป็นพระพุทธเจ้า.
    ก็ในกาลนั้น เราได้เป็นพราหมณ์ชื่อโชติปาละ ได้กล่าว
    กะพระกัสสปสุคตเจ้าว่า การตรัสรู้ของสมณะโล้นจักมีมาแต่ไหน
    การตรัสรู้เป็นของได้ยากยิ่ง.
    เพราะวิบากของกรรมนั้น เราจึงต้องทำทุกรกิริยามากมาย
    อยู่ที่ตำบลอุรุเวลาถึง ๖ ปี จากนั้น จึงได้บรรลุพระโพธิญาณ.
    เราไม่ได้บรรลุพระโพธิญาณอันสูงสุดโดยหนทางนั้น เรา
    ถูกกรรมเก่าห้ามไว้ จึงได้แสวงหาโดยทางผิด.
    เรามีบุญและบาปสิ้นไปหมดแล้ว เว้นจากความเร่าร้อนทั้ง
    ปวง ไม่มีความโศก ไม่มีความคับแค้น ไม่มีอาสวะ จักปรินิพพาน
    แล.
    .. อรรถกถา ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ เถราปทาน ๑. พุทธวรรค ๑. พุทธาปทาน
    อ่าน อรรถกถาหน้าต่างที่ [หน้าสารบัญ] [๑] [๒] [๓] [๔] [๕] [๖] [๗] [๘] [๙] [๑๐] [๑๑]

     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=32.0&i=1&p=11

    อ่าน อรรถกถาหน้าต่างที่ [หน้าสารบัญ] [๑] [๒] [๓] [๔] [๕] [๖] [๗] [๘] [๙] [๑๐] [๑๑]

    <CENTER><BIG>อรรถกถา ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ เถราปทาน ๑. พุทธวรรค</BIG> <CENTER class=D>๑. พุทธาปทาน</CENTER></CENTER>
    หน้าต่างที่ ๑๑ / ๑๑. ในปัญหาข้อที่ ๒ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
    การกล่าวยิ่ง คือการด่าว่า ชื่อว่าอัพภักขานะ.
    ได้ยินว่า ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์เกิดในตระกูลศูทร เป็นนักเลงชื่อมุนาฬิ ผู้ไม่มีชื่อเสียง ไม่มีความชำนาญอะไรอาศัยอยู่.
    ครั้งนั้น พระปัจเจกพุทธเจ้านามว่าสุรภิ มีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากไปถึงที่ใกล้ของเขาด้วยกิจบางอย่าง. เขาพอเห็นพระ<WBR>ปัจเจก<WBR>พุทธ<WBR>เจ้านั้นเท่านั้น ได้ด่าว่าด้วยคำเป็นต้นว่า สมณะนี้ทุศีล มีธรรมลามก. เพราะวิบากของอกุศลนั้น เขาจึงได้เสวยทุกข์ในนรกเป็นต้นหลายพันปี ในอัตภาพครั้งสุดท้ายนี้ ในตอนที่พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ในภพดุสิต พวกเดียรถีย์ปรากฏขึ้นก่อน เที่ยวแสดงทิฏฐิ ๖๒ หลอกลวงประชาชนอยู่นั้น จึงได้จุติจากดุสิตบุรี บังเกิดในสกุลสักยราช แล้วได้เป็นพระพุทธเจ้าโดยลำดับ. พวกเดียรถีย์เสื่อมลาภสักการะ เสมือนหิ่งห้อยในตอนพระอาทิตย์ขึ้น จึงผูกความอาฆาตในพระผู้มีพระภาคเจ้าเที่ยวไปอยู่.
    สมัยนั้น เศรษฐีในกรุงราชคฤห์ผูกตาข่ายในแม่น้ำคงคาแล้วเล่นอยู่ เห็นปุ่มไม้จันทน์แดงจึงคิดว่า ในเรือนของเรามีไม้จันทน์มากมาย จะให้เอาปุ่มไม้จันทน์แดงนี้เข้าเครื่องกลึง แล้วให้ช่างกลึงกลึงบาตรด้วยปุ่มไม้จันทน์แดงนั้น แล้วแขวนที่ไม้ไผ่ต่อๆ ลำกัน ให้ตีกลองป่าวร้องว่า ผู้ใดมาถือเอาบาตรใบนี้ได้ด้วยฤทธิ์ เราจักเป็นผู้จงรักภักดีต่อผู้นั้น.
    ในกาลนั้น พวกเดียรถีย์ปรึกษากันว่า บัดนี้ พวกเราฉิบหายแล้ว บัดนี้ พวกเราฉิบหายแล้ว นิครนถ์นาฏบุตรกล่าวกะบริษัทของตนอย่างนี้ เราจะไปใกล้ๆ ไม้ไผ่ ทำอาการดังว่าจะเหาะขึ้นในอากาศ พวกท่านจงจับบ่าเราแล้วห้ามว่า ท่านอย่า<WBR>กระทำ<WBR>ฤทธิ์<WBR>เพราะอาศัยบาตรที่ทำด้วยไม้เผาผีเลย เดียรถีย์เหล่านั้นพากันไปอย่างนั้น แล้วได้กระทำเหมือนอย่างนั้น.
    ครั้งนั้น พระปิณโฑลภารทวาชะและพระโมคคัลลานะ ยืนอยู่บนยอดภูเขาหินประมาณ ๓ คาวุต กำลังห่มจีวรเพื่อต้องการจะรับบิณฑบาต ได้ยินเสียงโกลาหลนั้น. บรรดาพระเถระทั้งสองนั้น พระโมคคัลลานะได้กล่าวกะพระปิณโฑลภารทวาชะว่า ท่านจงเหาะไปเอาบาตรนั้น. พระปิณโฑลภารทวาชะนั้นกล่าวว่า ท่านผู้เจริญ ท่านเท่านั้นที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสถาปนาไว้ในตำแหน่งเลิศของท่านผู้มีฤทธิ์ทั้งหลาย ท่านนั่นแหละจงถือเอา. แม้เมื่อเป็นอย่างนั้น ท่านถูกพระโมคคัลลานะบังคับว่า ท่านนั่นแหละผมสั่งแล้ว จงถือเอาเถิด จึงทำภูเขาหินประมาณ ๓ คาวุตที่ตนยืนอยู่ ให้ติดที่พื้นเท้าแล้วให้ปกคลุมนครราชคฤห์เสียทั้งสิ้น เหมือนฝาปิดหม้อข้าวฉะนั้น.
    ครั้งนั้น ชนชาวพระนครแลเห็นพระเถระนั้น ดุจด้ายแดงที่ร้อยในภูเขาแก้วผลึก พากันตะโกนว่า ท่านภารทวาชะผู้เจริญ ขอท่านจงคุ้มครองพวกกระผมด้วย ต่างก็กลัว จึงได้เอากระด้งเป็นต้นกั้นไว้เหนือศีรษะ. ทีนั้น พระเถระได้ปล่อยภูเขานั้นลงไว้ในที่ที่ตั้งอยู่แล้วไปด้วยฤทธิ์ถือเอาบาตรนั้นมา.
    ครั้งนั้น ชนชาวพระนครได้กระทำความโกลาหลดังขึ้น.
    พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับนั่งอยู่ในพระเวฬุวนาราม ได้ทรงสดับเสียงนั้น จึงตรัสถามพระอานนท์ว่า นั้นเสียงอะไร? พระอานนท์กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เพราะพระภารทวาชะถือเอาบาตรมาได้ ชนชาวพระนครจึงยินดีได้กระทำเสียงโห่ร้อง.
    ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อที่จะทรงปลดเปลื้องการกล่าวร้ายผู้อื่นต่อไป จึงทรงให้นำบาตรนั้นมาทุบให้แตก แล้วทำการบดให้ละเอียดสำหรับเป็นยาหยอดตา แล้วทรงให้แก่ภิกษุทั้งหลาย ก็แหละครั้นทรงให้แล้ว จึงทรงบัญญัติ<WBR>สิกขา<WBR>บท<WBR>ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่ควรทำการแสดงฤทธิ์ ภิกษุใดทำ ภิกษุนั้นต้องอาบัติทุกกฏ.
    ลำดับนั้น เดียรถีย์ทั้งหลายกล่าวกันว่า ข่าวว่าพระสมณโคดม<WBR>บัญญัติ<WBR>สิกขา<WBR>บท<WBR>แก่สาวกทั้งหลาย สาวกเหล่านั้นย่อมไม่ล่วงละเมิดสิกขาบทที่บัญญัติไว้นั้น แม้เพราะเหตุแห่งชีวิต พวกเราจักทำอิทธิปาฏิหาริย์ จึงพากันเป็นหมวดหมู่ทำความโกลาหลอยู่ในที่นั้นๆ.
    ครั้งนั้น พระเจ้าพิมพิสารได้ทรงสดับดังนั้น จึงเสด็จไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงไหว้แล้วประทับนั่ง ณ ส่วนสุดข้างหนึ่ง กราบ<WBR>ทูล<WBR>พระผู้มีพระภาคเจ้าอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระ<WBR>องค์<WBR>ผู้เจริญ พวกเดียรถีย์ป่าวร้องว่าจักทำอิทธิปาฏิหาริย์.
    พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า มหาบพิตร แม้อาตมภาพก็จักทำ.
    พระราชาตรัสถามว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงบัญญัติ<WBR>สิกขา<WBR>บท<WBR>แก่สาวกทั้งหลายไว้แล้วมิใช่หรือ พระเจ้าข้า.
    พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า มหาบพิตร อาตมภาพจักถามเฉพาะพระองค์เท่านั้น พระ<WBR>องค์<WBR>ทรง<WBR>ตั้ง<WBR>สิน<WBR>ไหมสำหรับ<WBR>ผู้กินผลมะม่วงเป็นต้นในอุทยานของพระองค์ว่า สินไหมมีประมาณเท่านี้ แม้สำหรับพระองค์ก็ทรงตั้งรวมเข้าด้วยหรือ.
    พระราชาทูลว่า ไม่มีสินไหมสำหรับข้าพระองค์ พระเจ้าข้า.
    พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อย่างนั้น มหาบพิตร สิกขาบทที่บัญญัติไว้แล้ว ย่อมไม่มีสำหรับอาตมภาพ.
    พระราชาตรัสถามว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ปาฏิหาริย์จักมีที่ไหน พระเจ้าข้า.
    พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ที่โคนต้นคัณฑามพพฤกษ์ ใกล้เมืองสาวัตถี มหาบพิตร.
    พระราชาตรัสว่า ดีละ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ทั้งหลายจักคอยดูปาฏิหาริย์นั้น.
    ลำดับนั้น พวกเดียรถีย์ได้ฟังว่า นัยว่าปาฏิหาริย์จักมีที่โคนต้นคัณฑามพพฤกษ์ จึงให้ตัดต้นมะม่วงรอบๆ พระนคร. ชาวพระนครทั้งหลายจึงพากันผูกมัดเตียงซ้อนๆ กัน และหอคอยเป็นต้น ในสถานที่อันเป็นลานใหญ่ ชาวชมพูทวีปเป็นกลุ่มๆ ได้ยืนแผ่ขยายไปตลอด ๑๒ โยชน์ เฉพาะในทิศตะวันออก แม้ในทิศที่เหลือ ก็<WBR>ประชุม<WBR>กัน<WBR>อยู่โดยอาการอันสมควรแก่สถานที่นั้น.
    ฝ่ายพระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อกาลเวลาถึงเข้าแล้ว ในวันเพ็ญเดือน ๘ ทรงทำกิจที่ควรทำให้เสร็จแต่เช้าตรู่ แล้วเสด็จไปยังที่นั้นประทับนั่งอยู่แล้ว.
    ขณะนั้น นายคนเฝ้าอุทยานชื่อว่าคัณฑะ เห็นมะม่วงสุกดีในรังมดแดง จึงคิดว่า ถ้าเราจะถวายมะม่วงนี้แก่พระราชา ก็จะได้ทรัพย์อันเป็นสาระมีกหาปณะเป็นต้น แต่เมื่อน้อมถวายแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า สมบัติในโลกนี้และโลกหน้าก็จักเกิดมี ครั้นคิดดังนี้แล้วจึงน้อมถวายแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า.
    พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับมะม่วงนั้นแล้ว ดำรัสสั่งพระอานนทเถระว่า เธอจงคั้นผลมะม่วงนี้ทำให้เป็นน้ำปานะ. พระเถระได้กระทำตามพระดำรัสแล้ว. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงดื่ม (น้ำ) ผลมะม่วงแล้ว ประทานเมล็ดมะม่วงแก่นายคนเฝ้าอุทยานแล้วตรัสว่า จงเพาะเมล็ดมะม่วงนี้. นายอุยยานบาลนั้นจึงคุ้ยทรายแล้วเพาะเมล็ดมะม่วงนั้น พระอานนทเถระเอาคนโทตักน้ำรด. ขณะนั้น หน่อมะม่วงก็งอกขึ้นมา เมื่อมหาชนเห็นอยู่นั่นแหละ ก็ปรากฏเต็มไปด้วยกิ่ง ค่าคบ ดอก ผลและใบอ่อน. ชาวชมพูทวีปทั้งสิ้นเคี้ยวกินผลมะม่วงที่หล่นลงมา ไม่อาจให้หมดสิ้นได้.
    ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงนิรมิตรัตนจงกรมบนยอดเขามหาเมรุในจักรวาลนี้ จากจักรวาลทิศตะวันออกจนกระทั่งถึงจักรวาลทิศตะวันตก เมื่อจะทรงยังบริษัทมิใช่น้อยให้บันลือสีหนาท จึงทรงกระทำมหาอิทธิปาฏิหาริย์ โดยนัยดังกล่าวแล้วใน<WBR>อรรถ<WBR>กถา<WBR>ธรรม<WBR>บท ทรงย่ำยีพวกเดียรถีย์ทำให้พวกเขาถึงประการอันผิดแผกไปต่างๆ ในเวลาเสร็จปาฏิหาริย์ ได้เสด็จไปยังภพดาวดึงส์ โดยพุทธ<WBR>จริยา<WBR>ที่พระ<WBR>พุทธ<WBR>เจ้าในปางก่อนทรงประพฤติมาแล้ว ทรงจำพรรษาอยู่ในภพดาวดึงส์นั้น ทรงแสดงพระอภิธรรมติดต่อกันตลอดไตรมาส ทรงทำเทวดามิใช่น้อยมีพระมารดาเป็นประธาน ให้บรรลุพระโสดาปัตติมรรค ออกพระพรรษาแล้วเสด็จลงจากเทวโลก อันหมู่เทวดาและพรหมมิใช่น้อยห้อมล้อม เสด็จลงยังประตูเมืองสังกัสสะ ได้ทรงกระทำการอนุเคราะห์ชาวโลกแล้ว.
    ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้มีลาภสักการะท่วมท้นท่ามกลางชมพูทวีป ประดุจแม่น้ำใหญ่ ๕ สาย (คือ คงคา อจิรวดี ยมุนา สรภู มหี) ฉะนั้น.
    ครั้งนั้น พวกเดียรถีย์เสื่อมลาภสักการะ เป็นทุกข์ เสียใจ คอตก นั่งก้มหน้าอยู่. ในกาลนั้น อุบาสิกาของพวกเดียรถีย์เหล่านั้น ชื่อนางจิญจมาณวิกา ถึงความเป็นผู้เลอเลิศด้วยรูปโฉม เห็นพวกเดียรถีย์เหล่านั้นนั่งอยู่อย่างนั้น จึงถามว่า ท่านผู้เจริญ เพราะเหตุไร ท่านทั้งหลายจึงนั่งเป็นทุกข์ เสียใจอยู่อย่างนี้?
    พวกเดียรถีย์กล่าวว่า น้องหญิง ก็เพราะเหตุไรเล่า เธอจึงได้เป็นผู้มีความขวนขวายน้อย.
    นางจิญจมาณวิกาถามว่า มีเหตุอะไร ท่านผู้เจริญ. เดียรถีย์กล่าวว่า ดูก่อนน้องหญิง จำเดิมแต่กาลที่พระสมณโคดมเกิดขึ้นมา พวกเราเสื่อมลาภสักการะหมด ชาวพระนครไม่สำคัญอะไรๆ พวกเรา. นางจิญจมาณวิกาถามว่า ในเรื่องนี้ ดิฉันควรจะทำอะไร. เดียรถีย์ตอบว่า เธอควรจะยังโทษมิใช่คุณให้เกิดขึ้นแก่พระสมณโคดม.
    นางจิญจมาณวิกานั้นกล่าวว่า ข้อนั้นไม่เป็นการหนักใจสำหรับดิฉัน ดังนี้แล้ว เมื่อจะทำความอุตสาหะในการนั้น จึงไปยังพระเชตวันวิหารในเวลาวิกาล แล้วอยู่ในสำนักของพวกเดียรถีย์ ครั้นตอนเช้า ในเวลาที่ชนชาวพระนครถือของหอมเป็นต้นไปเพื่อจะถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า จึงออกมา ทำทีเหมือนออกจากพระเชตวันวิหาร ถูกถามว่านอนที่ไหน จึงกล่าวว่าประโยชน์อะไรด้วยที่ที่เรานอนแก่พวกท่าน ดังนี้ แล้วก็หลีกไปเสีย.
    เมื่อกาลเวลาดำเนินไปโดยลำดับ นางถูกถามแล้วกล่าวว่า เรานอนในพระคันธกุฎีเดียวกันกับพระสมณโคดมแล้วออกมา พวกปุถุชนผู้เขลาเชื่อดังนั้น บัณฑิตทั้งหลายมีพระโสดาบันเป็นต้นไม่เชื่อ.
    วันหนึ่ง นางผูกท่อนไม้กลมไว้ที่ท้องแล้วนุ่งผ้าแดงทับไว้ แล้วไปกล่าวกะพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ประทับนั่งเพื่อทรงแสดงธรรมแก่บริษัทพร้อมทั้งพระราชาอย่างนี้ว่า พระสมณะผู้เจริญ ท่าน (มัวแต่) แสดงธรรม ไม่จัดแจงกระเทียมและพริกเป็นต้น เพื่อเราผู้มีครรภ์ทารกที่เกิดเพราะอาศัยท่าน.
    พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนน้องหญิง ท่านกับเราเท่านั้นย่อมรู้ภาวะอันจริงแท้. นางจิญจมาณวิกากล่าวว่า อย่างนั้นทีเดียว เรากับท่าน ๒ คนเท่านั้น ย่อมรู้คราวที่เกี่ยวข้องกันด้วยเมถุน คนอื่นย่อมไม่รู้.
    ขณะนั้น บัณฑุกัมพลศิลาอาสน์ของท้าวสักกะแสดงอาการเร่าร้อน. ท้าวสักกะทรงรำพึงอยู่ ทรงรู้เหตุนั้น จึงตรัสสั่งเทวบุตร ๒ องค์ว่า บรรดาท่านทั้งสอง องค์หนึ่งนิรมิตเพศเป็นหนู กัดเครื่องผูกท่อนไม้กลมของนางให้ขาด องค์หนึ่งทำมณฑลของลมให้ตั้งขึ้น พัดผ้าที่นางห่มให้เวิกขึ้นเบื้องบน. เทวบุตรทั้งสองนั้นได้ไปกระทำอย่างนั้นแล้ว. ท่อนไม้กลมตกลง ทำลายหลังเท้าของนางแตก.
    ปุถุชนทั้งหลายผู้ประชุมกันอยู่ในโรงธรรมสภา ทั้งหมดพากันกล่าวว่า เฮ้ย! นางโจรร้าย เจ้าได้ทำการกล่าวหาความเห็นปานนี้ แก่พระผู้เป็นเจ้าของโลกทั้ง ๓ ผู้เห็นปานนี้ แล้วต่างลุกขึ้นเอากำปั้นประหารคนละที นำออกไปจากที่ประชุม.
    เมื่อนางล่วงพ้นไปจากทัสสนะคือการเห็นของพระผู้มีพระภาคเจ้า แผ่นดินได้ให้ช่อง. ขณะนั้น เปลวไฟจากอเวจีนรกตั้งขึ้น หุ้มห่อนางเหมือนหุ้มด้วยผ้ากัมพลแดงที่ตระกูลให้ แล้วซัดลงไปในอเวจีนรก.
    พระผู้มีพระภาคเจ้าได้มีลาภสักการะอย่างล้นเหลือ.
    ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า
    พระพุทธเจ้าผู้ทรงครอบงำสิ่งทั้งปวง มีสาวกชื่อว่านันทะ
    เรากล่าวตู่พระสาวกชื่อว่านันทะนั้น จึงได้ท่องเที่ยวไปในนรก
    สิ้นกาลนาน.
    เราท่องเที่ยวไปในนรกตลอดกาลนานถึงหมื่นปี ได้ความ
    เป็นมนุษย์แล้ว ได้รับการกล่าวตู่มากมาย.
    เพราะกรรมที่เหลือนั้น นางจิญจมาณวิกาได้กล่าวตู่เรา
    ด้วยคำอันไม่เป็นจริงต่อหน้าหมู่ชน.
    ในปัญหาข้อที่ ๓ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
    การกล่าวยิ่ง คือการด่า ชื่อว่าอัพภักขานะ.
    ได้ยินว่า ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์เกิดในกำเนิดที่ไม่ปรากฏชื่อเสียง เป็นนักเลงชื่อว่ามุนาฬิ เพราะกำลังแรงที่คลุกคลีกับคนชั่ว จึงได้ด่าพระปัจเจกพุทธเจ้านามว่าสุรภิ ว่า ภิกษุนี้ทุศีล มีธรรมอันลามก. เพราะวจีกรรมอันเป็นอกุศลนั้น พระโพธิ<WBR>สัตว์<WBR>นั้น<WBR>ไหม้อยู่ในนรก<WBR>หลายพันปี ในอัตภาพครั้งสุดท้ายนี้ เกิดเป็นพระพุทธเจ้า ด้วยกำลังแห่งความสำเร็จบารมี ๑๐ ได้เป็นผู้ถึงลาภอันเลิศและยศอันเลิศ.
    พวกเดียรถีย์กลับเกิดความอุตสาหะขึ้นอีก คิดกันว่า พวกเราจักยังโทษมิใช่ยศ ให้เกิดแก่พระสมณโคดมได้อย่างไรหนอ พากันนั่งเป็นทุกข์เสียใจ.
    ครั้งนั้น ปริพาชิกาผู้หนึ่งชื่อว่าสุนทรี เข้าไปหาเดียรถีย์เหล่านั้นไหว้แล้วยืนอยู่ เห็นเดียรถีย์ทั้งหลายพากันนิ่งไม่พูดอะไร จึงถามว่า ดิฉันมีโทษอะไรหรือ?
    พวกเดียรถีย์กล่าวว่า พวกเราถูกพระสมณโคดมเบียดเบียนอยู่ ท่านกลับมีความขวนขวายน้อยอยู่ ข้อนี้เป็นโทษของท่าน.
    นางสุนทรีกล่าวว่า เมื่อเป็นอย่างนั้น ดิฉันจักกระทำอย่างไรในข้อนั้น.
    เดียรถีย์ทั้งหลายกล่าวว่า ท่านจักอาจหรือที่จะทำโทษมิใช่คุณให้เกิดขึ้นแก่พระสมณโคดม. นางสุนทรี<WBR>กล่าวว่า จักอาจซิ พระผู้เป็นเจ้า. ครั้นกล่าวแล้ว จำเดิมแต่นั้นมา ก็กล่าวแก่พวกคนที่ได้พบเห็นว่า ตนนอนในพระคันธกุฎีเดียวกันกับพระสมณโคดมแล้วจึงออกมา ดังนี้โดยนัยดังกล่าวมาแล้วด่าบริภาษอยู่. ฝ่ายพวกเดียรถีย์ก็ด่าบริภาษอยู่ว่า ผู้เจริญทั้งหลายจงเห็นกรรมของพระสมณโคดม.
    สมจริงดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า
    ในชาติอื่นๆ ในครั้งก่อน เราเป็นนักเลงชื่อว่ามุนาฬิ ได้
    กล่าวตู่พระสุรภิปัจเจกพุทธเจ้าผู้ไม่ประทุษร้าย.
    เพราะวิบากของกรรมนั้น เราจึงท่องเที่ยวไปในนรกสิ้น
    กาลนาน เสวยทุกขเวทนาหลายพันปี.
    ด้วยเศษกรรมที่เหลือนั้น ในภพสุดท้ายนี้ เราจึงได้รับ
    การกล่าวตู่ เพราะเหตุแห่งนางสุนทรี.
    ในปัญหาข้อที่ ๔ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
    การด่า การบริภาษโดยยิ่ง คือโดยพิเศษ ชื่อว่าอัพภักขานะ.
    ได้ยินว่า ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์เกิดในตระกูลพราหมณ์ เป็นผู้ศึกษาเล่าเรียนมาก คนเป็นอันมากสักการบูชา ได้บวชเป็นดาบส มีรากเหง้าและผลไม้ในป่าเป็นอาหาร สอนมนต์พวกมาณพจำนวนมาก สำเร็จการอยู่ในป่าหิมพานต์. ดาบสรูปหนึ่งได้อภิญญา ๕ และสมาบัติ ๘ ได้มายังสำนักของพระโพธิสัตว์นั้น.
    พระโพธิสัตว์นั้นพอเห็นพระดาบสนั้นเท่านั้น ถูกความริษยาครอบงำ ได้ด่าว่าพระฤาษีผู้ไม่ประทุษร้ายนั้นว่า ฤาษีนี้หลอกลวง บริโภคกาม และบอกกะพวกศิษย์ของตนว่า ฤาษีนี้เป็นผู้ไม่มีอาจาระเห็นปานนี้.
    ฝ่ายศิษย์เหล่านั้นก็พากันด่า บริภาษอย่างนั้นเหมือนกัน.
    ด้วยวิบากของอกุศลกรรมนั้น พระโพธิสัตว์นั้นจึงได้เสวยทุกข์ในนรกอยู่พันปี ในอัตภาพหลังสุดนี้ ได้เป็นพระพุทธเจ้า ถึงความเป็นผู้เลิศด้วยลาภและเลิศด้วยยศ ปรากฏดุจพระจันทร์เพ็ญในอากาศฉะนั้น.
    แม้ด้วยการด่าว่าถึงอย่างนั้น พวกเดียรถีย์ก็ยังไม่พอใจ ให้นางสุนทรีทำการด่าว่าอีก ให้เรียกพวกนักเลงสุรามาให้ค่าจ้างแล้วสั่งว่า พวกท่านจงฆ่านางสุนทรีแล้วปิดด้วยขยะดอกไม้ในที่ใกล้ประตูพระเชตวัน พวกนักเลงสุราเหล่านั้นได้กระทำอย่างนั้น แต่นั้น พวกเดียรถีย์จึงกราบทูลแก่พระราชาว่า ข้าพระองค์ทั้งหลายไม่พบเห็นนางสุนทรี.
    พระราชารับสั่งว่า พวกท่านจงค้นดู เดียรถีย์เหล่านั้นจึงเอามาจากที่ที่ตนให้โยนไว้แล้วยกขึ้นสู่เตียงน้อยแสดงแก่พระราชา แล้วเที่ยวโฆษณาโทษของพระผู้มีพระภาคเจ้าและภิกษุสงฆ์ในพระนครทั้งสิ้นว่า ท่านผู้เจริญ ท่านทั้งหลายจงเห็นการกระทำของพระสมณโคดมและของพวกสาวก. แล้ววางนางสุนทรีไว้บนแคร่ในป่าช้าผีดิบ.
    พระราชารับสั่งว่า ท่านทั้งหลายจงค้นหาคนฆ่านางสุนทรี.
    ครั้งนั้น พวกนักเลงดื่มสุราแล้วทำการทะเลาะกันว่า เจ้าฆ่านางสุนทรี เจ้าฆ่า.
    ราชบุรุษทั้งหลาย จึงจับพวกนักเลงเหล่านั้นแสดงแก่พระราชา พระราชาตรัสถามว่า แน่ะพนาย พวกเจ้าฆ่านางสุนทรีหรือ? นักเลงเหล่านั้นกราบทูลว่า พระเจ้าข้า ข้าแต่สมมติเทพ. พระราชาตรัสถามว่า พวกใครสั่ง? นักเลงทูลว่า พวกเดียรถีย์สั่ง พระเจ้าข้า. พระราชาจึงให้นำพวกเดียรถีย์มาแล้วให้จองจำพันธนาการแล้วรับสั่งว่า แน่ะพนาย พวกเจ้าจงไปป่าวร้องว่า เราทั้งหลายให้ฆ่านางสุนทรีเองแหละ โดยความจะให้เป็นโทษแก่พระพุทธเจ้า พระผู้มีพระภาคเจ้าและสาวกทั้งหลายของพระองค์ไม่ได้เป็นผู้กระทำ. พวกเดียรถีย์ได้กระทำอย่างนั้นแล้ว.
    ชาวพระนครทั้งสิ้นต่างเป็นผู้หมดความสงสัย. พระราชาทรงให้ฆ่าพวกเดียรถีย์และพวกนักเลงแล้วให้ทิ้งไป. แต่นั้น ลาภสักการะเจริญพอกพูนแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า โดยยิ่งกว่าประมาณ.
    ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า
    เราเป็นพราหมณ์เรียนจบแล้ว เป็นผู้อันมหาชนสักการะ
    บูชา ได้สอนมนต์กะมาณพ ๕๐๐ คนในป่าใหญ่.
    พระฤาษีผู้กล้า สำเร็จอภิญญา ๕ มีฤทธิ์มาก มาในที่นี้
    นั้น และเราได้เห็นพระฤาษีนั้นมาแล้ว ได้กล่าวตู่ว่าท่านผู้ไม่
    ประทุษร้าย.
    แต่นั้น เราได้บอกกะศิษย์ทั้งหลายว่า ฤาษีนี้เป็นผู้บริโภค
    กาม แม้เมื่อเราบอกอยู่ มาณพทั้งหลายก็พลอยยินดีตาม.
    แต่นั้น มาณพทุกคนเที่ยวภิกขาไปทุกๆ ตระกูล ก็บอก
    กล่าวแก่มหาชนว่า ฤาษีนี้บริโภคกาม.
    เพราะวิบากของกรรมนั้น ภิกษุ ๕๐๐ รูปนี้จึงได้รับการ
    กล่าวตู่ด้วยกันทั้งหมด เพราะเหตุแห่งนางสุนทรี.
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=32.0&i=1&p=11

    ปัญหาข้อที่ ๕ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
    บทว่า สิลาเวโธ ได้แก่ ผู้มีจิตอันโทสะกระทบแล้ว กลิ้งศิลาทับ.
    ได้ยินว่า ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์และน้องชายเป็นลูกพ่อเดียวกัน เมื่อบิดาล่วงลับไปแล้ว พี่น้องทั้งสองนั้นทำการทะเลาะกัน เพราะอาศัยพวกทาส จึงได้คิดร้ายกันและกัน พระโพธิสัตว์กดทับน้องชายไว้ด้วยความที่ตนเป็นผู้มีกำลัง แล้วกลิ้งหินทับลงเบื้องบนน้องชายนั้น.
    เพราะวิบากของกรรมนั้น พระโพธิสัตว์นั้นได้เสวยทุกข์ในนรกเป็นต้นหลายพันปี ในอัตภาพหลังสุดนี้ได้เกิดเป็นพระพุทธเจ้า. พระเทวทัตผู้เป็นพระมาตุลาของพระราหุลกุมาร ในชาติก่อนได้เป็นพ่อค้ากับพระโพธิสัตว์ ในครั้งเป็นพ่อค้าชื่อว่าเสริพาณิช พ่อค้าทั้งสองนั้นไปถึงปัฏฏนคาม บ้านอันตั้งอยู่ใกล้ท่าแห่งหนึ่ง จึงตกลงกันว่า ท่านจงถือเอาถนนสายหนึ่ง แม้เราก็จะถือเอาถนนสายหนึ่ง แล้วทั้งสอง คนก็เข้าไป.
    บรรดาคนทั้งสองนั้น ในถนนสายที่พระเทวทัตเข้าไปได้มีคน ๒ คนเท่านั้น คือภรรยาของเศรษฐีเก่าคนหนึ่ง หลานสาวคนหนึ่ง ถาดทองใบใหญ่ของคนทั้งสองนั้นถูกสนิมจับ เป็นของที่เขาวางปนไว้ในระหว่างภาชนะ.
    ภรรยาของเศรษฐีเก่านั้นไม่รู้ว่าภาชนะทอง จึงกล่าวกะท่านเทวทัตนั้นว่า ท่านจงเอาถาดใบนี้ไปแล้วจงให้เครื่องประดับมา.
    เทวทัตนั้นจับถาดใบนั้นแล้วเอาเข็มขีดดู รู้ว่าเป็นถาดทอง แล้วคิดว่า เราจักให้นิดหน่อยแล้วถือเอา จึงไปเสีย.
    ลำดับนั้น หลานสาวเห็นพระโพธิสัตว์มายังที่ใกล้ประตู จึงกล่าวว่า ข้าแต่แม่เจ้า ขอท่านจงให้เครื่องประดับกัจฉปุฏะ แก่ดิฉัน. ภรรยาเศรษฐีเท่านั้นจึงให้เรียกพระโพธิสัตว์นั้นมา ให้นั่งลงแล้วจึงให้<WBR>ภาชนะ<WBR>นั้นแล้วจึงกล่าวว่า ท่านจงถือเอาภาชนะนี้แล้วจงให้เครื่องประดับกัจฉปุฏะ แก่หลานสาวของข้าพเจ้า.
    พระโพธิสัตว์จับภาชนะนั้น รู้ว่าเป็นภาชนะทอง และรู้ว่านางถูกเทวทัตนั้นลวง จึงเก็บ ๘ กหาปณะไว้ในถุงเพื่อตน และให้สินค้าที่เหลือ ให้ประดับเครื่องประดับกัจฉปุฏะ ที่มือของนางกุมาริกาแล้วก็ไป.
    พ่อค้านั้นหวนกลับมาถามอีก.
    ภรรยาเศรษฐีนั้นกล่าวว่า นี่แน่ะพ่อ ท่านไม่เอา บุตรของเราให้สิ่งนี้ๆ แล้วถือเอาถาดใบนั้นไปเสียแล้ว. พ่อค้านั้นพอได้ฟังดังนั้น มีหทัยเหมือนจะแตกออก จึงวิ่งติดตามไป. พระโพธิสัตว์ขึ้นเรือแล่นไปแล้ว. พ่อค้านั้นกล่าวว่า หยุด! อย่าหนี อย่าหนี แล้วได้ทำความปรารถนาว่า เราพึงสามารถทำให้มันฉิบหายในภพที่เกิดแล้วๆ.
    ด้วยอำนาจความปรารถนา พ่อค้านั้นเบียดเบียนกันและกันหลายแสนชาติ ในอัตภาพนี้ บังเกิดในสักยตระกูล เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าบรรลุพระสัพพัญญุตญาณ แล้วประทับอยู่ในกรุงราชคฤห์โดยลำดับ ได้ไปยังสำนักของพระผู้มีพระภาคเจ้าพร้อมกับเจ้าอนุรุทธะเป็นต้นแล้วบวช เป็นผู้ได้ฌานปรากฏแล้ว ทูลขอพรพระผู้มี<WBR>พระ<WBR>ภาค<WBR>เจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภิกษุสงฆ์ทั้งปวงจงสมาทานธุดงค์ ๑๓ มีเที่ยวบิณ<WBR>ฑบาต<WBR>เป็น<WBR>วัตร<WBR>เป็น<WBR>ต้น ภิกษุสงฆ์ทั้งสิ้นจงเป็นภาระของข้าพระองค์.
    พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ทรงอนุญาต พระเทวทัตผูกเวร จึงเสื่อมจากฌาน ต้องการจะปลงพระชนม์พระผู้มีพระภาคเจ้า. วันหนึ่ง ยืนอยู่เบื้องบน พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ประทับยืนอยู่ที่เชิงเขาเวภาระ (ที่อื่นเป็นเขาคิชฌกูฏ) กลิ้งยอดเขาลงมา ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้า ยอดเขายอดอื่นรับเอายอดเขานั้นที่กำลังตกลงมา. สะเก็ดหินที่ตั้งขึ้นเพราะยอดเขาเหล่านั้นกระทบกัน ปลิวมากระทบหลังพระบาทของพระผู้มีพระภาคเจ้า.
    ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า
    เมื่อชาติก่อน เราฆ่าน้องชายต่างมารดา เพราะเหตุแห่ง
    ทรัพย์ เราใส่ลงในซอกหิน และบดขยี้ด้วยหิน
    เพราะวิบากของกรรมนั้น พระเทวทัตจึงกลิ้งหิน ก้อนหิน
    บดขยี้นิ้วหัวแม่เท้าของเรา.
    ปัญหาข้อที่ ๖ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
    สะเก็ดหินกระทบ ชื่อว่าสกลิกาเวธะ.
    ได้ยินว่า ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์บังเกิดในตระกูลหนึ่ง ในเวลาเป็นเด็ก กำลังเล่นอยู่ที่ถนนใหญ่ เห็นพระปัจเจก<WBR>พุทธ<WBR>เจ้าเที่ยวบิณฑ<WBR>บาตอยู่ในถนนคิดว่า สมณะโล้นนี้จะไปไหน จึงถือเอาสะเก็ดหินขว้างไปที่หลังเท้าของท่าน. หนังหลังเท้าขาด โลหิตไหลออก.
    เพราะกรรมอันลามกนั้น พระโพธิสัตว์นั้นได้เสวยทุกข์อย่างมหันต์ในนรกหลายพันปี แม้เป็นพระพุทธเจ้าแล้วก็ได้เกิดการห้อพระโลหิตขึ้น เพราะสะเก็ดหินกระทบที่หลังพระบาท ด้วยอำนาจกรรมเก่า.
    ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า
    ในกาลก่อน เราเป็นเด็กเล่นอยู่ที่หนทางใหญ่ เห็นพระ-
    ปัจเจกพุทธเจ้าในหนทาง จึงขว้างสะเก็ดหินใส่.
    เพราะวิบากของกรรมนั้น ในภพหลังสุดนี้ พระเทวทัต
    จึงประกอบนายขมังธนูเพื่อฆ่าเรา.
    ปัญหาข้อที่ ๗ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
    ช้างธนปาลกะที่เขาส่งไปเพื่อต้องการให้ฆ่า ชื่อว่าช้างนาฬาคิรี.
    ได้ยินว่า ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์บังเกิดเป็นคนเลี้ยงช้าง ขึ้นช้างเที่ยวไปอยู่ เห็นพระ<WBR>ปัจเจก<WBR>พุทธ<WBR>เจ้าในหน<WBR>ทางใหญ่ คิดว่า คนหัวโล้นมาจากไหน เป็นผู้มีจิตถูกโทสะกระทบแล้ว เกิดเป็นดุจตะปูตรึงใจ ได้ทำช้างให้ขัดเคือง.
    ด้วยกรรมนั้น พระโพธิสัตว์จึงได้เสวยทุกข์ในอบายหลายพันปี ในอัตภาพหลังสุดได้เกิดเป็นพระพุทธเจ้า. พระเทวทัตกระทำพระเจ้าอชาตศัตรูให้เป็นสหายแล้วให้สัญญากันว่า มหา<WBR>บพิตร พระองค์ปลงพระชนม์พระบิดาแล้วจงเป็นพระราชา อาตมภาพ<WBR>ฆ่าพระ<WBR>พุทธ<WBR>เจ้าแล้วจักเป็น<WBR>พระ<WBR>พุทธ<WBR>เจ้า ดังนี้
    อยู่มาวันหนึ่ง ไปยังโรงช้างตามที่พระราชาทรงอนุญาต แล้วสั่งคนเลี้ยงช้างว่า พรุ่งนี้ ท่านจงให้ช้างนาฬาคิรีดื่มเหล้า ๑๖ หม้อ แล้วจงปล่อยไปในเวลาที่พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จเที่ยวไปบิณฑบาต.
    พระนครทั้งสิ้นได้มีเสียงเอิกเกริกมากมาย. ชนทั้งหลายกล่าวกันว่า เราจักดูการต่อยุทธ์ของนาคคือช้าง กับนาคคือพระพุทธเจ้า ดังนี้แล้วพากันผูกเตียงและเตียงซ้อน ในถนนหลวง จากด้านทั้งสอง แล้วประชุมกันแต่เช้าตรู่.
    ฝ่ายพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกระทำการปฏิบัติพระสรีระแล้ว อันหมู่ภิกษุห้อมล้อมเสด็จเข้าไปบิณฑบาตยังกรุงราชคฤห์.
    ขณะนั้น พวกคนเลี้ยงช้างปล่อยช้างนาฬาคิรี โดยทำนองที่กล่าวแล้วนั่นแหละ. ช้างนาฬาคิรีทำลายถนนและทางสี่แพร่งเป็นต้นเดินมา.
    ครั้งนั้น หญิงผู้หนึ่งพาเด็กเดินข้ามถนน ช้างเห็นหญิงนั้นจึงไล่ติดตาม. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า นี่แน่ะนาฬาคิรี เธอถูกเขาส่งมาเพื่อจะฆ่าหญิงนั้นก็หามิได้ เธอจงมาทางนี้. ช้างนั้นได้ฟังเสียงนั้นแล้ว ก็วิ่งบ่ายหน้ามุ่งไปทางพระผู้มีพระภาคเจ้า.
    พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแผ่เมตตาอันควรแก่การแผ่ในจักรวาล อันหาประมาณมิได้ ในสัตว์อันหาที่สุดมิได้ ไปในช้างนาฬาคิรีตัวเดียวเท่านั้น. ช้างนาฬาคิรีนั้นอันพระเมตตาของพระผู้มีพระภาคเจ้าถูกต้องแล้ว กลายเป็นช้างที่ไม่มีภัย หมอบลงแทบบาทมูลของพระผู้มีพระภาคเจ้า.
    พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงวางพระหัตถ์ลงบนกระหม่อมของช้างนาฬาคิรีนั้น.
    ครั้งนั้น เทวดาและพรหมเป็นต้นเกิดจิตอัศจรรย์ไม่เคยเป็น จึงพากันบูชาด้วยดอกไม้และเกสรดอกไม้เป็นต้น ในพระนครทั้งสิ้น ได้มีกองทรัพย์ประมาณถึงเข่า. พระราชารับสั่งให้เที่ยวตีกลองป่าวร้อง ทรัพย์ที่ประตูด้านทิศตะวันตกจงเป็นของชาวพระนคร ทรัพย์ที่ประตูด้านทิศตะวันออกจงนำเข้าท้องพระคลังหลวง. คนทั้งปวงกระทำอย่างนั้นแล้ว.
    ในครั้งนั้น ช้างนาฬาคิรีได้มีชื่อว่าธนบาล. พระผู้มีพระภาคเจ้าได้เสด็จไปยังพระเวฬุวนาราม.
    ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า
    ในกาลก่อน เราได้เป็นนายควาญช้าง ได้ทำช้างให้โกรธ
    พระปัจเจกมุนีผู้สูงสุด ผู้กำลังเที่ยวบิณฑบาตอยู่นั้น.
    เพราะวิบากของกรรมนั้น ช้างนาฬาคิรีตัวดุร้ายหมุนเข้า
    มาประจัญในบุรีอันประเสริฐ ชื่อว่า คิริพพชะ คือกรุงราชคฤห์.
    ปัญหาข้อที่ ๘ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
    การผ่าฝีด้วยศาสตรา คือตัดด้วยผึ่ง ด้วยศาสตราชื่อว่าสัตถัจเฉทะ.
    ได้ยินว่า ในอดีตกาลพระโพธิสัตว์ได้เป็นพระราชาในปัจจันตประเทศ พระโพธิสัตว์นั้นเป็นนักเลงด้วยอำนาจการคลุกคลีกับคนชั่วและด้วยอำนาจการอยู่ในปัจจันตประเทศ เป็นคนหยาบช้า.
    อยู่มาวันหนึ่ง ถือมีดเดินเท้าเปล่า เที่ยวไปในเมือง ได้เอามีดฆ่าฟันคนผู้ไม่มีความผิดได้ไปแล้ว.
    ด้วยวิบากของกรรมอันลามกนั้น พระโพธิสัตว์นั้นไหม้ในนรกหลายพันปี เสวยทุกข์ในทุคติมีสัตว์<WBR>เดีย<WBR>รัจฉานเป็นต้น ด้วยวิบากที่เหลือ ในอัตภาพหลังสุดแม้ได้เป็นพระ<WBR>พุทธ<WBR>เจ้า หนังก็ได้เกิดห้อพระโลหิตขึ้น เพราะก้อนหินที่พระ<WBR>เทว<WBR>ทัต<WBR>กลิ้ง<WBR>ใส่กระทบเอา โดยนัยดังกล่าวในหนหลัง.
    หมอชีวกผ่าหนังที่บวมขึ้นนั้นด้วยจิตเมตตา. การทำพระโลหิตให้ห้อขึ้นของ<WBR>พระ<WBR>เทว<WBR>ทัต<WBR>ผู้มีจิตเป็นข้าศึก ได้เป็นอนันตริยกรรม. การผ่าหนังที่บวมขึ้นของหมอชีวกผู้มีจิตเมตตา ได้เป็นบุญอย่างเดียว.
    ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า
    เราเป็นคนเดินเท้า ฆ่าคนทั้งหลายด้วยหอก ด้วย
    วิบากของกรรมนั้น เราถูกไฟไหม้อยู่ในนรกอย่างรุนแรง.
    ด้วยเศษของกรรมนั้น มาบัดนี้เขาจึงตัดหนังที่เท้า
    ของเราเสียสิ้น เพราะยังไม่หมดกรรม.
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=32.0&i=1&p=11

    [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]
    อ่าน อรรถกถาหน้าต่างที่ [หน้าสารบัญ] [๑] [๒] [๓] [๔] [๕] [๖] [๗] [๘] [๙] [๑๐] [๑๑]
    <CENTER><BIG>อรรถกถา ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ เถราปทาน ๑. พุทธวรรค</BIG> <CENTER class=D>๑. พุทธาปทาน</CENTER></CENTER>
    หน้าต่างที่ ๑๑ / ๑๑.


    ปัญหาข้อที่ ๙ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
    อาพาธที่ศีรษะ คือเวทนาที่ศีรษะ ชื่อว่าสีสทุกขะ ทุกข์ที่ศีรษะ.
    ได้ยินว่า ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์บังเกิดเป็นชาวประมง ในหมู่บ้านชาวประมง.
    วันหนึ่ง พระโพธิสัตว์นั้นกับพวกบุรุษชาวประมง ไปยังที่ที่ฆ่าปลา เห็นปลาทั้งหลายตาย ได้ทำ<WBR>โสมนัส<WBR>ให้เกิดขึ้นในข้อที่ปลาตายนั้น แม้บุรุษชาวประมงที่ไปด้วยกันก็ทำความโสมนัสให้เกิดขึ้นอย่างนั้นเหมือนกัน.
    ด้วยอกุศลกรรมนั้น พระโพธิสัตว์ได้เสวยทุกข์ในอบายทั้ง ๔ ในอัตภาพหลังสุดนี้ ได้บังเกิดในตระกูลศากยราช พร้อมกับบุรุษเหล่านั้น แม้จะได้บรรลุความเป็นพระพุทธเจ้าโดยลำดับแล้ว ก็ยังได้เสวยความเจ็บป่วยที่ศีรษะด้วยตนเอง และเจ้าศากยะเหล่านั้นถึงความพินาศกันหมดในสงครามของเจ้าวิฑูฑภะ โดยนัยดังกล่าวไว้ใน<WBR>
    อรรถ<WBR>กถา<WBR>ธรรม<WBR>บท.
    ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า

    เราเป็นลูกชาวประมงในหมู่บ้านชาวประมง เห็นปลา
    ทั้งหลายถูกฆ่า ได้ยังความโสมนัสดีใจให้เกิดขึ้น.
    เพราะวิบากของกรรมนั้น ความทุกข์ที่ศีรษะได้มีแก่เรา
    แล้ว ในคราวที่เจ้าวิฑูฑภะฆ่าสัตว์ทั้งหมด (คือเจ้าศากยะ)
    แล้ว.



    .. อรรถกถา ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ เถราปทาน ๑. พุทธวรรค ๑. พุทธาปทาน จบ.
    อ่าน อรรถกถาหน้าต่างที่ [หน้าสารบัญ]
    [๑] [๒] [๓] [๔] [๕] [๖] [๗] [๘] [๙] [๑๐] [๑๑]
    [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]
    อ่าน เนื้อความในพระไตรปิฎก
    http://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=32&A=1&Z=146


    ดาวน์โหลด โปรแกรมพระไตรปิฎก
    บันทึก ๑๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
    หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ DhammaPerfect@yahoo.com <!--BEGIN WEB STAT CODE----><SCRIPT language=javascript1.1>page="tipitaka";</SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.1 src="http://truehits1.gits.net.th/data/c0004100.js"></SCRIPT>
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=32.0&i=1&p=11

    ปัญหาข้อที่ ๑๐ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
    การกินข้าวสารแห่งข้าวแดงในเมืองเวสาลี ชื่อว่ายวขาทนะ การกินข้าวแดง.
    ได้ยินว่า ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์บังเกิดในตระกูลหนึ่ง เพราะอำนาจชาติและเพราะความเป็นอันธพาล เห็นสาวกทั้งหลายของ พระผู้มีพระภาคเจ้าผุสสะ ฉันข้าวน้ำอันอร่อยและโภชนะแห่งข้าวสาลีเป็นต้น จึงด่าว่า เฮ้ย! พวกสมณะโล้น พวกท่านจงกินข้าวแดงเถอะ อย่ากินโภชนะแห่งข้าวสาลีเลย.
    เพราะวิบากแห่งอกุศลกรรมนั้น พระโพธิสัตว์จึงเสวยทุกข์อยู่ในอบายทั้ง ๔ หลายพันปี ในอัตภาพหลังสุดนี้ ถึงความเป็น<WBR>พระ<WBR>พุทธ<WBR>เจ้าโดยลำดับ เมื่อทรงกระทำความอนุเคราะห์ชาวโลก เสด็จเที่ยวไปในคาม นิคม<WBR>และ<WBR>ราช<WBR>ธานี<WBR>ทั้งหลาย.
    สมัยหนึ่ง เสด็จถึงโคนไม้สะเดาอันสมบูรณ์ด้วยกิ่งและค่าคบ ณ ที่ใกล้เวรัญชพราหมณคาม. เวรัญชพราหมณ์เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อไม่อาจเอาชนะพระผู้มีพระภาคเจ้าได้โดยเหตุหลายประการ ได้เป็นพระโสดาบันแล้ว<WBR>กราบ<WBR>ทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ การเสด็จเข้าจำพรรษาในที่นี้แหละย่อมควร.
    พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับคำนิมนต์โดยดุษณีภาพ.
    ครั้นจำเดิมแต่วันรุ่งขึ้นไป มารผู้มีบาปได้กระทำการดลใจชาวบ้านเวรัญช<WBR>พราหมณ<WBR>คามทั้งสิ้น ไม่ได้มีแม้แต่คนเดียวผู้จะถวายภิกษาสักทัพพีหนึ่งแก่พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เสด็จเข้าไปบิณฑบาต เพราะเนื่องด้วยมารดลใจ.
    พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมีบาตรเปล่า อันภิกษุสงฆ์ห้อมล้อมเสด็จกลับมา. เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเสด็จกลับมาอย่างนั้น พวกพ่อค้าม้าที่อยู่ในที่นั้นนั่นแหละ ได้ถวายทานในวันนั้น จำเดิมแต่วันนั้นไป ได้นิมนต์พระผู้มีพระภาคเจ้ามีภิกษุ ๕๐๐ เป็นบริวาร แล้วทำการแบ่งจากอาหารของม้า ๕๐๐ ตัว เอามาซ้อมเป็นข้าวแดง แล้วใส่ลงในบาตรของภิกษุทั้งหลาย.
    เทวดาในพันจักรวาลแห่งจักรวาลทั้งสิ้นพากันใส่ทิพโอชะ เหมือนในวันที่นางสุชาดาหุงข้าวปายาส. พระผู้มีพระภาคเจ้าเสวยแล้ว พระองค์เสวยข้าวแดงตลอดไตรมาส ด้วยประการอย่างนี้ เมื่อล่วงไป ๓ เดือน การดลใจของมารก็หายไปในวันปวารณา เวรัญช<WBR>พราหมณ์<WBR>ระลึกขึ้นได้ถึงความ<WBR>สลด<WBR>ใจ<WBR>อย่าง<WBR>ใหญ่<WBR>หลวง จึงถวายมหาทาน<WBR>แก่<WBR>ภิกษุ<WBR>สงฆ์<WBR>มีพระ<WBR>พุทธ<WBR>เจ้าเป็นประธาน ถวายบังคมแล้วขอให้ทรงอดโทษ.
    ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า
    เราได้บริภาษพระสาวกทั้งหลาย ในศาสนาของพระ
    พุทธเจ้า พระนามว่าผุสสะ ว่า พวกท่านจงเคี้ยว จงกินแต่
    ข้าวแดง อย่ากินข้าวสาลีเลย
    ด้วยวิบากของกรรมนั้น เราจึงได้เคี้ยวกินข้าวแดง
    ตลอดไตรมาส เพราะว่า ในคราวนั้น เราอันพราหมณ์นิมนต์
    แล้วจึงได้อยู่ในบ้านเวรัญชา.
    ปัญหาข้อที่ ๑๑ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
    อาพาธที่หลัง ชื่อว่าปิฏฐทุกขะ ทุกข์ที่หลัง.
    ได้ยินว่า ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์บังเกิดในตระกูลคหบดี สมบูรณ์ด้วยกำลัง ได้เป็นคนค่อนข้างเตี้ย.
    สมัยนั้น นักต่อสู้ด้วยการต่อสู้ด้วยมวยปล้ำคนหนึ่ง เมื่อการต่อสู้ด้วยมวยปล้ำกำลังดำเนินไปอยู่ในคามนิคมและราชธานีทั้งหลาย ในชมพูทวีปทั้งสิ้น ได้ทำพวกบุรุษล้มลง ได้รับชัยชนะ มาถึงเมืองอันเป็นที่อยู่ของพระโพธิ<WBR>สัตว์<WBR>เข้าโดยลำดับ ได้ทำพวกคนในเมืองแม้นั้นให้ล้มลงแล้ว เริ่มจะไป.
    คราวนั้น พระโพธิสัตว์คิดว่า ผู้นี้ได้รับชัยชนะในที่เป็นที่อยู่ของเราแล้วก็จะไป จึงมายังบริเวณ<WBR>พระ<WBR>นครในที่นั้น ปรบมือ<WBR>แล้ว<WBR>กล่าว<WBR>ว่า ท่านจงมา จงต่อสู้กับเราแล้วค่อยไป.
    นักมวยปล้ำนั้นหัวเราะแล้วคิดว่า พวกบุรุษใหญ่โตเรายังทำให้ล้มได้ บุรุษผู้นี้เป็นคนเตี้ย มีธาตุเป็นคนเตี้ย ย่อมไม่เพียงพอแม้แก่มือข้างเดียว จึงปรบมือบันลือแล้วเดินมา.
    คนทั้งสองนั้นจับมือกันและกัน พระโพธิสัตว์ยกนักมวยปล้ำคนนั้นขึ้นแล้วหมุนในอากาศ เมื่อจะให้ตกลงบนภาคพื้น ได้ทำลายกระดูกไหล่แล้วให้ล้มลง. ชาวพระนครทั้งสิ้นทำการโห่ร้อง ปรบมือบูชาพระโพธิสัตว์ด้วยผ้าและอาภรณ์เป็นต้น.
    พระโพธิสัตว์ให้นักต่อสู้ด้วยมวยปล้ำนั้นตรงๆ กระทำกระดูกไหล่ให้ตรงแล้วกล่าวว่า ท่านจงไป ตั้งแต่นี้ไปท่านจงอย่ากระทำกรรมเห็นปานนี้ แล้วส่งไป.
    ด้วยวิบากของกรรมนั้น พระโพธิสัตว์ได้เสวยทุกข์ที่ร่างกายและศีรษะเป็นต้น ในภพที่เกิดแล้วๆ ในอัตภาพหลังสุด แม้เป็นพระพุทธเจ้าแล้วก็ได้เสวยทุกข์มีการเสียดแทงที่หลังเป็นต้น. เพราะฉะนั้น เมื่อความทุกข์ที่เบื้องพระปฤษฎางค์เกิดขึ้นในกาลบางคราว พระองค์จึงตรัสกะพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะว่า จำเดิมแต่นี้ไป พวกเธอจงแสดงธรรม แล้วพระองค์ทรงลาดสุคตจีวรแล้วบรรทม.
    ขึ้นชื่อว่ากรรมเก่า แม้พระพุทธเจ้าก็ไม่พ้นไปได้.
    สมจริงดังที่ท่านกล่าวไว้ว่า
    เมื่อการปล้ำกันดำเนินไปอยู่ เราได้เบียด
    เบียนบุตรนักมวยปล้ำ (ให้ลำบาก)
    ด้วยวิบากของกรรมนั้น ความทุกข์ที่หลัง
    (ปวดหลัง) จึงได้มีแก่เรา.
    ปัญหาข้อที่ ๑๒ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
    การถ่ายด้วยการลงพระโลหิต ชื่อว่าอติสาระ โรคบิด.
    ได้ยินว่า ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์บังเกิดในตระกูลคหบดี เลี้ยงชีพด้วยเวชกรรม. พระโพธิ<WBR>สัตว์<WBR>นั้นเมื่อจะเยียวยาบุตรของเศรษฐีคนหนึ่งผู้ถูกโรคครอบงำ จึงปรุงยาแล้วเยียวยา อาศัยความประมาทในการให้ไทยธรรมของบุตรเศรษฐีนั้น จึงให้โอสถอีกขนานหนึ่ง ได้กระทำการถ่ายโดยการสำรอกออก เศรษฐีได้ให้ทรัพย์เป็นอันมาก.
    ด้วยวิบากของกรรมนั้น พระโพธิสัตว์จึงได้ถูกอาพาธด้วยโรคลง<WBR>โลหิต<WBR>ครอบ<WBR>งำในภพที่เกิดแล้วๆ ในอัตภาพหลังสุดแม้นี้ ใน<WBR>ปริ<WBR>นิพ<WBR>พาน<WBR>สมัย จึงได้มีการถ่ายด้วยการลงพระโลหิต ในขณะที่เสวยสูกรมัททวะที่นายจุนทะกัมมารบุตรปรุงถวาย พร้อมกับพระกระยาหารอันมีทิพโอชะที่เทวดาในจักรวาลทั้งสิ้นใส่ลงไว้. กำลังช้างแสนโกฏิเชือก ได้ถึงความสิ้นไป.
    ในวันเพ็ญเดือน ๖ พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จดำเนินไปเพื่อต้อง<WBR>การ<WBR>ปริ<WBR>นิพ<WBR>พาน<WBR>ในเมืองกุสินารา ประทับนั่งในที่หลายแห่ง ระหายน้ำ ทรงดื่มน้ำ ทรงถึงเมืองกุสินาราด้วยความลำบากอย่างมหันต์ แล้วเสด็จปรินิพพานในเวลาปัจจุสมัยใกล้รุ่ง.
    แม้พระผู้เป็นเจ้าของไตรโลกเห็นปานนี้ กรรมเก่าก็ไม่ละเว้น.
    ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า
    เราเป็นหมอรักษาโรค ได้ถ่ายยาบุตรของเศรษฐี
    ด้วยวิบากของกรรมนั้น โรคปักขันทิกาพาธจึงมีแก่เรา.
    พระชินเจ้าทรงบรรลุอภิญญาพละทั้งปวง ทรง
    พยากรณ์ต่อหน้าภิกษุสงฆ์ ณ อโนดาตสระใหญ่ ด้วย
    ประการฉะนี้แล.
    อปทานฝ่ายอกุศล ชื่อว่าเป็นอันจบบริบูรณ์ ด้วยการตั้งหัวข้อปัญหาที่ท่านให้ปฏิญญาไว้ ด้วยประการอย่างนี้ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า อิตฺถํ สุทํ อธิบายว่า ด้วยประการฉะนี้ คือด้วยนัยที่กล่าวไว้ในหนหลังโดยประการนี้.
    ศัพท์ว่า สุทํ เป็นนิบาต มาในอรรถว่าทำบทให้เต็ม.
    พระผู้มีพระภาคเจ้าคือพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้มีพระมหากรุณาพระองค์นั้น ทรงเพียบพร้อมด้วยภาคยธรรม เป็นพระมหาสัตว์ผู้บำเพ็ญ<WBR>บารมี<WBR>มาแล้ว ทรงประกอบด้วย<WBR>คุณ<WBR>มี<WBR>อาทิ<WBR>อย่าง<WBR>นี้<WBR>ว่า
    พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมีภาคบุญ คือโชค ผู้หักราน
    กิเลส ผู้ประกอบด้วยภาคธรรมทั้งหลาย ผู้ทรงด้วยภาคธรรม
    ทั้งหลาย ผู้ทรงจำแนกธรรม ผู้คบแล้ว ผู้คายการไปในภพ
    ทั้งหลายแล้ว เพราะเหตุนั้น จึงทรงพระนามว่า ภควา.
    ทรงเป็นเทพยิ่งกว่าเทพ เป็นท้าวสักกะยิ่งกว่าท้าวสักกะ ทรงเป็นพรหมยิ่งกว่าพรหม ทรงเป็นพระพุทธเจ้ายิ่งกว่าพระพุทธเจ้า เมื่อจะทรงยกย่องคือทำให้<WBR>ปรากฏ<WBR>ซึ่งพุทธ<WBR>จริยา คือเหตุแห่งพระพุทธเจ้าของพระองค์ จึงได้ภาษิตคือตรัสธรรมบรรยายคือพระสูตรธรรมเทศนา ชื่อว่า<WBR>พุท<WBR>ธา<WBR>ปทานิยะ คือ<WBR>ชื่อ<WBR>ว่า<WBR>ประกาศ<WBR>เหตุแห่ง<WBR>พระ<WBR>พุทธ<WBR>เจ้าแล.

    <CENTER>
    พรรณนาพุทธาปทาน
    ในวิสุทธชนวิลาสินี อรรถกถาอปทาน
    จบบริบูรณ์เท่านี้
    ----------------------------------------------------- </CENTER>.. อรรถกถา ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ เถราปทาน ๑. พุทธวรรค ๑. พุทธาปทาน จบ.
    อ่าน อรรถกถาหน้าต่างที่ [หน้าสารบัญ] [๑] [๒] [๓] [๔] [๕] [๖] [๗] [๘] [๙] [๑๐] [๑๑]

    อ่าน เนื้อความในพระไตรปิฎก
    http://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=32&A=1&Z=146
    - -- ---- ----------------------------------------------------------------------------
    ดาวน์โหลด โปรแกรมพระไตรปิฎก
    บันทึก ๑๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
    หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ DhammaPerfect@yahoo.com <!--BEGIN WEB STAT CODE----><SCRIPT language=javascript1.1>page="tipitaka";</SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.1 src="http://truehits1.gits.net.th/data/c0004100.js"></SCRIPT>

    .
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เดี๋ยวนี้ มีคนเป็นจำนวนมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ ไม่สนใจเรื่องของกรรม ขอให้มีเงินเป็นพอ สามารถกระทำทุกอย่างเพื่อเงิน เพื่อผลประโยชน์ของตนเอง กลุ่มตนเอง

    เพราะเหตุว่า ไม่มีความเชื่อในเรื่องของกรรม ทำชั่วแล้วก็ไม่เห็นว่า จะมีกรรมมาถึงตนเองได้อย่างไร ก็ยังอยู่สุขสบายดี

    น้ำที่หยดลงในตุ่มน้ำ หยดไปเรื่อยๆ ต้องมีวันนึงที่น้ำที่หยดลงไปนั้นเต็มตุ่ม เฉกเช่นเดียวกันกับกรรม(ทั้งกรรมดีและกรรมชั่ว) ทำไปเรื่องๆ ทำวันละเล็กละน้อย ทำไปนานๆ และทำให้ครบสูตร ทั้งกาย วาจา ใจ แล้วไปพิสูจน์เองว่า กรรมที่เกิดขึ้น ต้องได้รับผลอย่างไร กรรมดีต้องได้รับผลอย่างไร กรรมชั่วต้องได้รับผลอย่างไร

    โคตรยิ่งใหญ่อภิมหาโมทนาสาธุ
    .
     
  20. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    [​IMG]
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ nongnooo [​IMG]
    ลุงแกเตือนมาครับ ว่าต้องระวัง เดี๋ยวท่านเพชร จามาสวนลงที 20องค์นะ หุ หุ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]

    สมเด็จพิมพ์ฐานหมอน...
     

แชร์หน้านี้

Loading...